190 likes | 379 Views
Introduction to Education Criteria for Performance Excellence (ECPE). ผศ.นพ.ไชยวิทย์ ธนไพศาล สำนักงานประเมินและประกันคุณภาพ. ประเด็นนำเสนอ. 1. ECPE คือ อะไร 2. ทำไมจึงควรทำ ECPE ในองค์กรของเรา 3. ถ้าจะทำ จะต้องทำอย่างไร. 1. ECPE คือ อะไร.
E N D
Introduction toEducation Criteriafor Performance Excellence(ECPE) ผศ.นพ.ไชยวิทย์ ธนไพศาล สำนักงานประเมินและประกันคุณภาพ
ประเด็นนำเสนอ • 1. ECPE คือ อะไร • 2. ทำไมจึงควรทำ ECPE ในองค์กรของเรา • 3. ถ้าจะทำ จะต้องทำอย่างไร
1. ECPE คือ อะไร • ECPE คือ TQM ( Total Quality Management ) แบบอเมริกัน • Malcom Baldrige National Quality Award ( MBNQA ) ซึ่งเป็นรางวัลคุณภาพแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา มาใช้เฉพาะองค์กรการศึกษา
Malcom Baldrige คือใคร สำคัญอย่างไร • Mr.Malcom Baldrige เป็นรัฐมนตรีกระทรวงพาณิชย์ ของอเมริกา ในสมัย ประธานาธิบดี Ronald Regan ปลายทศวรรษ 1980 • เห็นว่าสินค้า ของอเมริกา แข่งขันกับชาวโลกไม่ได้ โดยเฉพาะญี่ปุ่น ต้องมีการปรับปรุงคุณภาพครั้งใหญ่ • จัดตั้งรางวัลคุณภาพแห่งชาติขึ้น แต่เสียชีวิตเสียก่อน จากการขี่ม้า • จึงตั้งชื่อรางวัลนี้ว่า Malcom Baldrige National Quality Award ( MBNQA ) • ประกาศรางวัลครั้งแรกเมื่อ ปี 1989
สกอ. มีแนวคิดที่จะมีการประกันคุณภาพ 2 ระดับ • ระดับพื้นฐาน 9 องค์ประกอบ • ระดับสู่ความเป็นเลิศ ECPE • สกอ.แปล Education Criteria for Performance Excellence (ECPE) 2009-2010 เป็นภาษาไทย • รับสมัครคณะนำร่อง 12 คณะ ทั่วประเทศ • จะประกาศรับสมัคร เดือนกุมภาพันธ์นี้
การนำองค์กรอย่างมีวิสัยทัศน์การนำองค์กรอย่างมีวิสัยทัศน์ การจัดการศึกษาที่มุ่งเน้นการเรียนรู้ การเรียนรู้ขององค์กรและของแต่ละบุคคล การให้ความสำคัญกับคณาจารย์/บุคลากร ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และคู่ความร่วมมือ ความคล่องตัว การมุ่งเน้นอนาคต การจัดการเพื่อนวัตกรรม การจัดการโดยใช้ข้อมูลจริง ความรับผิดชอบต่อสังคม การมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์และการสร้างคุณค่า มุมมองในเชิงระบบ การนำองค์การ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การมุ่งเน้นลูกค้า การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ การให้ความสำคัญกับผู้ปฏิบัติงาน การจัดการกระบวนการ ผลลัพธ์การดำเนินงานขององค์กร ค่านิยมหลัก แนวคิด และเกณฑ์ เกณฑ์ ค่านิยมหลักและแนวคิด
น้ำหนักคะแนนตาม ECPE หมวด 1.การนำองค์กร 120 1.1 การนำองค์กรโดยผู้นำระดับสูง 70 1.2 ธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม 50 หมวด 2.การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ 85 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ 40 2.2 การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ 45 หมวด 3.การมุ่งเน้นลูกค้า 85 3.1 ความผูกพันของลูกค้า 40 3.2 เสียงของลูกค้า 45
หมวด 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 90 4.1การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการขององค์การ45 4.2 การจัดการสารสนเทศและความรู้ 45 หมวด 5. การมุ่งเน้นผู้ปฏิบัติงาน 85 5.1 ความผูกพันของผู้ปฏิบัติงาน 45 5.2 สภาพแวดล้อมของผู้ปฎิบัติงาน 40 หมวด 6. การจัดการกระบวนการ 85 6.1 ระบบงาน 35 6.2 กระบวนการทำงาน 50
หมวด 7. ผลลัพธ์ 450 7.1 ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน 100 7.2 ด้านการมุ่งเน้นลูกค้า 70 7.3 ด้านงบประมาณ การเงินและตลาด 70 7.4 ด้านการมุ่งเน้นผู้ปฏิบัติงาน 70 7.5 ด้านประสิทธิผลขององค์การ 70 7.6 ด้านการนำองค์กร 70 รวม 1000
2. ทำไมจึงควรทำ ECPE ในองค์กรของเรา • Malcom Baldrige เป็นระบบบริหารคุณภาพ ที่ถูกนำไปใช้มากที่สุดในโลก ( > 80 ประเทศ ) • อาจเรียกได้ว่า Malcom Baldrige เป็นภาษาอังกฤษของระบบคุณภาพ สามารถเปรียบเทียบกับ ประเทศต่างๆได้ทั่วโลก • ECPE ใช้กับองค์กรทางการศึกษาโดยเฉพาะ
ประโยชน์ที่จะได้รับ 1. ได้ทำการประเมินตนเอง ตามแบบมาตรฐาน 2. เห็นโอกาสในการปรับปรุงองค์กร 3. มุ่งเน้นในเรื่องสำคัญ 4. การเรียนรู้ของบุคคลและองค์กรดีขึ้น 5. ประสิทธิผลขององค์กรดีขึ้น 6. ผลผลิตมีคุณภาพสูงขึ้น
ลักษณะสำคัญของเกณฑ์ ECPE • มุ่งเน้นผลลัพธ์ • ไม่ได้กำหนดว่า • องค์กรควรมีโครงสร้างอย่างไร • องค์กรควรมีหน่วยงานอะไรบ้าง • องค์กรควรใช้วิธีใดในการดำเนินการ • สนับสนุนมุมมองเชิงระบบ เพื่อให้เป้าประสงค์ ไปในทางเดียวกันทั้งองค์กร • สนับสนุนการตรวจประเมินที่เน้นเป้าประสงค์
3. ถ้าจะทำ จะต้องทำอย่างไร ก่อนจะทำ • ผู้บริหารระดับสูงศึกษา ทำความเข้าใจ • ผู้บริหารระดับสูง ประกาศเป็นนโยบาย • ขายความคิดให้บุคลากร
10 ขั้นตอนในการดำเนินการ ECPE • กำหนดขอบเขตที่จะประเมิน • เลือกแชมเปี้ยนของแต่ละหมวด (1 – 7 ) • กำหนดรูปแบบและแผนงานการประเมินตนเอง • ผู้นำระดับสูงขององค์กร และแชมเปี้ยน ร่วมกันเขียน โครงร่างองค์กร • ตอบคำถามตามเกณฑ์และเรียบเรียง
10 ขั้นตอนในการดำเนินการPMQA 6. แชมเปี้ยนของแต่ละหมวด เลือกทีมทำงานและเขียนแบบประเมินตนเอง 7. จากแบบประเมินตนเอง ให้มองหาจุดแข็งและโอกาสพัฒนาในแต่ละหมวด 8. จัดลำดับความสำคัญของจุดแข็งและโอกาสพัฒนา 9. จัดทำแผนปฏิบัติการ และนำไปปฏิบัติ 10. ประเมินการจัดทำแบบประเมินตนเองและปรับปรุงระบบ