700 likes | 1.43k Views
ทีมคณะกรรมการเภสัชกรรมและบำบัด (PTC) โรงพยาบาลลอง อ.ลอง จ.แพร่. โครงการใช้ยาอย่างสมเหตุผล เพื่อลด การ ใช้ยาปฏิชีวนะในโรคเป้าหมาย (Antibiotic Smart Use ; ASU). เป้าหมาย เพื่อ ลดการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างพร่ำเพรื่อในโรคเป้าหมาย ได้แก่ โรคระบบทางเดินหายใจส่วนบน อาการท้องร่วง-ท้องเสีย และแผลเลือดออก.
E N D
ทีมคณะกรรมการเภสัชกรรมและบำบัด (PTC) โรงพยาบาลลอง อ.ลอง จ.แพร่ โครงการใช้ยาอย่างสมเหตุผลเพื่อลดการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคเป้าหมาย (Antibiotic Smart Use ; ASU)
เป้าหมาย เพื่อ ลดการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างพร่ำเพรื่อในโรคเป้าหมาย ได้แก่ โรคระบบทางเดินหายใจส่วนบน อาการท้องร่วง-ท้องเสีย และแผลเลือดออก โครงการใช้ยาอย่างสมเหตุผลเพื่อลดการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคเป้าหมาย
โครงการนี้ เกิดจากความเชื่อที่ว่า การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเกิดจากความรู้ แต่... ความรู้อย่างเดียวมันไม่เพียงพอในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม โครงการใช้ยาอย่างสมเหตุผลเพื่อลดการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคเป้าหมาย
คุณรู้ว่า...เชื้อดื้อยา เป็นวิกฤต ทุกคนต้องเริ่มมือแก้ไข โรงพยาบาลสามารถ..ประหยัดเงินและค่ารักษาพยาบาลในผู้ที่ดื้อยา สปสช. กำหนดให้การใช้ยา กำหนดการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลเป็นตัวชี้วัดคุณภาพบริการ ผู้ป่วยได้รับการรักษาที่ได้มาตรฐานตามหลักวิชาการ ได้ร่วมกันสร้างบุญกุศล ที่ผู้ป่วยได้รับบริการที่ดีและปลอดภัย เหตุผลที่ควร...เข้าร่วมโครงการนี้
หยุดเรียก“ยาปฏิชีวนะ”ว่า“ยาแก้อักเสบ”หยุดเรียก“ยาปฏิชีวนะ”ว่า“ยาแก้อักเสบ” การอักเสบ การอักเสบแบบติดเชื้อ • การอักเสบแบบไม่ติดเชื้อ • เช่น กล้ามเนื้ออักเสบ ภูมิแพ้ โรค SLE • ยาสเตียรอยด์ (Steriods) • ยาแก้อักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ (NSAIDs) ติดเชื้อแบคทีเรีย ติดเชื้อไวรัส ยาปฏิชีวนะ ไม่ใช้ยาปฏิชีวนะ
ความหมายที่ 1: ยาปฏิชีวนะเป็นยาอันตราย ตาม พรบ. ยา ยาปฏิชีวนะเป็น “ยาอันตราย”
ความหมายที่ 2:อันตรายจากผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการใช้ยาปฏิชีวนะพร่ำเพรื่อ แพ้ยา อาการข้างเคียงจากการใช้ยา เชื้อดื้อยา ยาปฏิชีวนะเป็น “ยาอันตราย”
Antibiotic Associated Colitis (AAC) ที่มา: Slides บรรยายโดย ผศ.นพ.พิสนธิ์ จงตระกูล
อาการไม่พึงประสงค์ Penicillins ที่มา: Slides บรรยายโดย ผศ.นพ.พิสนธิ์ จงตระกูล
การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างพร่ำเพรื่อการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างพร่ำเพรื่อ ทำให้เชื้อดื้อยาอย่างรวดเร็ว การดื้อยาทำให้ประชาชนทุกคนอยู่ในอันตราย
Acinetobacter • 1998 : 98% susceptible to imipenem • 2006 : only 43%susceptible to imipenem • E.coli • 1999 : 90% susceptible to ceftriaxone • 2006 :only 68% susceptible to ceftriaxone National Antimicrobial Resistance Surveillance, Thailand ( NARST ) ที่มา: Slide บรรยายโดย นพ.เชิดศักดิ์ มาศมหิศักดิ์
การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่เหมาะสมเกิดขึ้นบ่อยมากการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่เหมาะสมเกิดขึ้นบ่อยมาก ที่มา: Slides บรรยายโดย ผศ.นพ.พิสนธิ์ จงตระกูล
Inappropriate use of antibiotics in teaching hospitals ที่มา: Slides บรรยายโดย ผศ.นพ.พิสนธิ์ จงตระกูล 91% HogerzeilHV. Promoting rational prescribing: An international perspective. Br J Clin Pharmac. 1995;39:1-6
การใช้ยาปฏิชีวนะพร่ำเพรื่อ = การทำร้ายครอบครัวและคนรอบข้าง • เชื้อดื้อยาแบ่งตัว และถ่ายทอดจากคนหนึ่งสู่คนอื่น ๆ ได้ ผ่านทางการไอ จาม การกิน และการสัมผัส • ผู้มีความเสี่ยงสูงจากการติดเชื้อดื้อยา • เด็ก • คนแก่ • คนที่เป็นเบาหวาน • คนที่มีภูมิต้านทานโรคต่ำหรือบกพร่อง
Mariana bridi: นางแบบชาวบราซิล ปรับปรุงจาก: Slide บรรยายโดย นพ.เชิดศักดิ์ มาศมหิศักดิ์
เสียชีวิตในวัยเพียง 20 ปี...เพราะเชื้อดื้อยา แพทย์ตัดมือและเท้าทั้งสองข้าง ของนางแบบชาวบราซิล (พยายามที่จะรักษาชีวิตเธอไว้ แต่ไม่สำเร็จ)
สถานการณ์ยาปฏิชีวนะในประเทศไทยสถานการณ์ยาปฏิชีวนะในประเทศไทย • มูลค่าการผลิตและนำเข้าของยาฆ่าเชื้อ/ยาปฏิชีวนะสูงเป็นอันดับ 1 ติดต่อกัน 3 ปีซ้อน • คิดเป็น 1.6 หมื่นล้านบาท หรือเฉลี่ยเกือบ 1 ใน 4 ของมูลค่ายาทั้งหมด • คนไทยใช้ยาปฏิชีวนะพร่ำเพรือ • ต่างจังหวัดกินยาปฏิชีวนะรักษาหวัดคิดเป็นร้อยละ 40-60 และสูงถึงร้อยละ 70-80 ใน กทม. • โรงเรียนแพทย์พบการใช้ยาปฏิชีวนะไม่สมเหตุผลถึง 30-90% • รายงาน ADR พบปัญหาจากการใช้ยาฆ่าเชื้อ/ยาปฏิชีวนะสูงเป็นอันดับ 1 • อัตราเชื้อดื้อยาเพิ่มสูงถึงร้อยละ 25-50 • ขณะที่อัตราเชื้อดื้อยาสูงขึ้น แต่การคิดค้นยาปฏิชีวนะใหม่กลับลดลง • ตลาดยาปฏิชีวนะไม่คุ้มทุน เพราะไม่นานก็เกิดเชื้อดื้อยา วิธีที่ดีที่สุดในการแก้ปัญหา คือ หยุดใช้ยาปฏิชีวนะอย่างพร่ำเพรือ จุดเริ่มต้นของโครงการ Antibiotics Smart Use
เป้าหมายหลัก:ลดการสั่งใช้ยาปฏิชีวนะของบุคลากรทางการแพทย์ในการรักษาผู้ป่วยนอกที่ป่วยด้วย 3 โรคเป้าหมาย ที่พบบ่อยซึ่งเป็นโรคที่ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ • โรค URI (หวัด-เจ็บคอ) • ท้องร่วงเฉียบพลัน • แผลเลือดออก • เหตุผล • บุคลากรทางการแพทย์– เพราะเป็นผู้สั่งใช้ยาโดยตรง และเป็นแบบอย่างของการใช้ยาที่ผู้ป่วยและคนรอบข้างมักจดจำไปทำตาม • ผู้ป่วยนอก– ผู้ป่วยนอกที่สุขภาพทั่วไปแข็งแรง และอายุ 2 ปีขึ้นไป จึงไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ • 3 โรคเป้าหมาย–เพราะเป็นโรคที่พบบ่อย หายได้เองไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ • เป้าหมายอีกชุด คือ: • พัฒนาเป็นนโยบายระดับประเทศเกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะ ซึ่งเป็นนโยบายที่ปฏิบัติได้จริงในพื้นที่ (bottom-up policy development) • ปลูกฝังฐานความคิดเกี่ยวกับการใช้ยาที่สมเหตุผล • พัฒนาและเพิ่มศักยภาพเครือข่ายด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผล เป้าหมายโครงการ Antibiotics Smart Use
สังคม ลูกหลาน และประเทศชาติ คนไข้ บุคลากรทางการแพทย์ – พรบ. พิจารณาคดีผู้บริโภค Antibiotics Smart Use เพื่อใคร
ปรับปรุงจาก: Slide บรรยายโดย นพ.เชิดศักดิ์ มาศมหิศักดิ์
ประชาชนสามารถเดินไปที่ที่ศาลและฟ้องร้องด้วยวาจา ไม่มีค่าใช้จ่าย อายุความ 3 ปี สามารถเรียกค่าเสียหายสูงได้ถึง 2 เท่าของค่าเสียหายจริง (ฟ้องเรียกค่าเสียหายทางจิตใจได้ด้วย) ภาระในการพิสูจน์อยู่ที่ผู้ให้การรักษาว่าได้รักษาถูกต้องหรือไม่ ศาลสามารถเปลี่ยนคำพิพากษาภายหลังให้โทษ แรงขึ้นกว่าเก่าได้
ระดับ 0 ยังไม่ได้ดำเนินการ
1. ปรัชญาของทำงาน ASU เน้น decentralization และการทำงานอย่างเป็นเครือข่าย (networking) เพื่อให้เกิด sense of ownership ของสถานพยาบาลและจังหวัดที่ทำโครงการ • พื้นที่เป็นเจ้าของโครงการ แต่ละจังหวัดมีทีม ASU ของตนเอง • ส่วนกลางจะเป็นที่ปรึกษา (พี่เลี้ยง)ที่จะส่งเสริมศักยภาพของจังหวัด • จังหวัดที่เข้าร่วมโครงการฯ ก่อน จะเป็น “พี่เลี้ยง” ให้กับจังหวัดอื่นๆ ต่อไปได้ ข้อตกลงเบื้องต้น ASU # 1
ประวัติของ ASU ASU I: สระบุรี ก.ย. 2549 อย.ขอทุนจาก WHO ทำต้นแบบ การใช้ยาอย่างสมเหตุผล ส.ค. 2550 เริ่มโครงการนำร่อง ASU ที่สระบุรี ส.ค. 2551 สรุปผลโครงการนำร่อง ก.ค. 2552 สรุปผลความยั่งยืนโครงการนำร่อง ASU II: อุบลราชธานี อยุธยา สมุทรสงคราม รพ.กันตัง และกลุ่ม รพ.ศรีวิชัย ก.ย. 2551 อย. รับทุนจาก สวรส. เพื่อหารูปแบบ การขยาย ASU สู่ความยั่งยืน มีจังหวัด อุบลราชธานี อยุธยา สมุทรสงคราม รพ.กันตัง (จ.ตรัง) กลุ่ม รพ. ศรีวิชัย เข้าร่วมโครงการ ส.ค. 2552 สรุปผลโครงการ ASU I: ทำอย่างไรจึงเปลี่ยนพฤติกรรมได้ ASU II: ทำอย่างไรจึงจะยั่งยืน ASU III: สถานพยาบาล/จังหวัดอื่นๆ - โรงพยาบาลลอง?
เป็นพี่เลี้ยง วิทยากร หรือ แหล่งศึกษาดูงานให้ ASU รุ่นต่อไป ขั้นตอนหลักโครงการ ASU • ท่านเรียนรู้เกี่ยวกับโครงการโดยผ่านประสบการณ์ของทีมส่วนกลางและทีม ASU รุ่นก่อนๆ • ท่านเทียบเคียงข้อมูลข้างต้นกับปัญหาและบริบทของท่าน • ตั้งเป้าหมาย และวางแผนให้สอดคล้องกับพื้นที่ของท่าน • ปริมาณการใช้ ABO ลดลง ( e.g., 10%) * • ความรู้ทัศนคติดีขึ้นหลังการอบรม * • คนไข้ที่ไม่ได้ยา ABO หายป่วยและพึงพอใจ (e.g., 80%) • คนไม่ได้ยา ABO เพิ่มขึ้น (e.g., 20 %) • APR จากการใช้ ABO ลดลง (e.g., 20%) • เตรียมการ และลงมือทำตามแผน อบรม รณรงค์ ใช้สื่ออุปกรณ์ • เก็บข้อมูลและวัดผล • ปริมาณการใช้ยา ABO * • ความรู้ทัศนคติดีขึ้นหลังอบรมหรือไม่ * • คนไข้ที่ไม่ได้ยา ABO หายป่วยหรือไม่ พึงพอใจมากหรือน้อย • ร้อยละคนไม่ได้ยา ABO เพิ่มหรือไม่ • APR จากการใช้ ABO ลดลง • สรุปบทเรียน
โครงการนำร่องในจังหวัดสระบุรีโครงการนำร่องในจังหวัดสระบุรี ทดสอบว่า Interventions ใช้ได้ผลหรือไม่ (รพช.ทุกแห่ง 10 แห่ง สอ.ทุกแห่งในสังกัดรวม 87 แห่งในสระบุรี) ASU @ ปีที่ 1
การประชุมกลุ่มย่อยระดมความคิดการประชุมกลุ่มย่อยระดมความคิด • การใช้ยา ABO พร่ำเพรื่อทำให้เกิดอะไร • ใครบ้างที่ใช้ยา ABO พร่ำเพรื่อเพราะเหตุใด • เรียงลำดับปัจจัย (สาเหตุ) ที่ทำให้ใช้ยา • ABO พร่ำเพรื่อ โดยเรียงตามความสำคัญ • และความเป็นไปได้ในการเปลี่ยนแปลง • ผลการประชุม: • สาเหตุหลักของการสั่งใช้ยาปฏิชีวนะใน รพช. และ สอ. 2 ประการ คือ • ความรู้ ความเชื่อที่ไม่ถูกต้องของบุคลากรทางการแพทย์ • แรงกดดันจากคนไข้ ภาพการประชุมที่จังหวัด พระนครศรีอยุธยา14 ส.ค. 51
บุคลากรทางการแพทย์ คนไข้ และประชาชนทั่วไป
เจ้าหน้าที่เข้ารับการอบรมAntibiotics Smart Use ถ่ายทอดความรู้ ASU ให้ทีมงานที่ไม่ได้ไปอบรม ถ้าเจอคนไข้หวัดขอยาปฏิชีวนะ จ่ายยา ฟ้าทะลายโจรแทนนะ คุณเกศณีย์ คงสมบรูณ์ (พยาบาลวิชาชีพ) สอ.หลังเขา สระบุรี
นำความรู้และสื่ออุปกรณ์ไปสู่การปฏิบัตินำความรู้และสื่ออุปกรณ์ไปสู่การปฏิบัติ
สานต่อโครงการ Antibiotics Smart Use ในจังหวัดสระบุรี แลก “ยาปฏิชีวนะ” ด้วย “ยาสามัญประจำบ้าน” ในร้านขายของชำโดย นพ.สมชาติ สุจริตรังสีรพ. ดอนพุดสระบุรี โครงการ ASU สู่ชุมชนโดย คุณเกศนีย์ คงสมบรูณ์ สถานีอนามัยหลังเขาอ.มวกเหล็ก สระบุรี
หลังการดำเนินโครงการ และมีการเก็บข้อมูลอย่างต่อเนื่อง • สถานีอนามัยหลังเขา ได้ส่งผลงานในโครงการ ASU ตนเองเข้าประกวด และได้รับ “รางวัลยอดเยี่ยม ประจำปี 2552” จากการประกวดผลงาน R-2-R ของสถานพยาบาลระดับปฐมภูมิจากทั่วประเทศ สถานีอนามัยหลังเขา (สระบุรี)ได้รับรางวัลระดับประเทศ
หลักการ • ให้เกียรติซึ่งกันและกัน (recognition) • แบ่งปันกำลังใจไม่โดดเดี่ยว (social support) • สร้างความภูมิใจร่วมกันที่ได้ทำความดี (meaningful action) ให้สังคมและประเทศชาติ • วิธีการ • จดหมายข่าว - เผยแพร่ข้อมูลและกิจกรรมการดำเนินโครงการของพื้นที่แต่ละแห่งในกลุ่มสมาชิกและหน่วยงานส่วนกลางต่างๆ • สื่อสาธารณะ: หนังสือพิมพ์ สร้างเสริมกำลังใจของสมาชิกโครงการ
ตัวชี้วัด • ปริมาณการใช้ยา ABO • ความรู้ ความเชื่อมั่น ความตั้งใจ ก่อนและหลังอบรมของผู้สั่งใช้ยา • สุขภาพและความพึงพอใจของคนไข้ที่ไม่ได้ยา ABO • ร้อยละคนไข้ที่ไม่ได้ยา ABO ใน 3 โรคเป้าหมาย ประเมินผล
ตัวชี้วัด 1:การเปลี่ยนแปลงการใช้ยาปฏิชีวนะในช่วง 6 เดือนก่อนและหลัง intervention ในช่วงเวลาเดียวกัน(ตั้งเป้าหมายตอนเริ่มต้นว่า ลดลงร้อยละ 10) ปริมาณการใช้ปฏิชีวนะ (แสนเม็ด/แคปซูล) ปริมาณการใช้ยาปฏิชีวนะ (พันขวด) -18% (1.44 แสนบาท) -23% (0.4 แสนบาท) -46% (0.5 แสนบาท) -39% (1.41 แสนบาท) • ใน 6 เดือน สอ 44 แห่ง รพช 8 แห่ง ประหยัดค่ายาได้ 381,427 บาท • คำนวนย้อนกลับเป็นของรพช.ทุกแห่ง (n=10) และ สอ.ทุกแห่งที่อยู่ในสังกัดรพช.(n=87) • ใน 1 ปีจะประหยัดค่ายาได้กว่า 1.2 ล้านบาท ที่มา: กองควบคุมยา ผู้ประเมิน: กัญญดา อนุวงศ์ และคณะ (2551) รายงานฉบับสมบรูณ์การประเมินโครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล Antibiotics Smart Use ในจังหวัดสระบุรี
ตัวชี้วัด 3:ร้อยละของผู้ป่วย 3 โรคเป้าหมายที่ไม่ได้ยาปฏิชีวนะ ในช่วง 6 เดือน ก่อนและหลัง intervention (ตั้งเป้าหมายตอนเริ่มต้นว่า เพิ่มขึ้นร้อยละ 20 และเพิ่มขึ้นมากกว่ากลุ่มควบคุม) สระบุรี 8,099 ราย อยุธยา 5,865 ราย 74.6 45.5 44.2 42.3 ผู้ป่วยที่ไม่ได้ยา ABO ในสระบุรีเพิ่มขึ้น 29% หรือคิดเป็นร้อยละ 64 ของสัดส่วนคนไข้เดิมที่ไม่ได้ยา ABO (p < 0.00) ที่มา: กองควบคุมยา ผู้ประเมิน: กัญญดา อนุวงศ์ และคณะ (2551) รายงานฉบับสมบรูณ์การประเมินโครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล Antibiotics Smart Use ในจังหวัดสระบุรี
ตัวชี้วัด 2: ความรู้และทัศนคติของบุคลากรทางการแพทย์ก่อน-หลังการอบรม(ตั้งเป้าหมายตอนเริ่มต้นว่า เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติหลังจากได้รับการอบรม) • ใช้แบบสอบถาม Pre-test and post-test design (แบบสอบถามผ่านการทำ pilot test และ reliability test) • ข้อมูลพื้นฐาน: ผู้หญิง 87%, พยาบาล 64%, ทำงานในโรงพยาบาล 74%, อายุเฉลี่ย 36 ปี • ความรู้ ที่มา: กองควบคุมยา ผู้ประเมิน: กัญญดา อนุวงศ์ และคณะ (2551) รายงานฉบับสมบรูณ์การประเมินโครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล Antibiotics Smart Use ในจังหวัดสระบุรี
วิธีการ:โทรศัพท์สัมภาษณ์ผู้ป่วย 3 โรคเป้าหมายที่ไม่ได้รับ ยาปฎิชีวนะ 1,200 คน • เดือนละ 100 คนแรก/โรค นาน 4 เดือน: ธันวาคม 2550 - มีนาคม 2551 • สัมภาษณ์ในระยะ 7-10 วันหลังการรักษา • โทรศัพท์ติดตาม 3 ครั้ง ต่างวัน และต่างเวลา • เป้าหมายที่ตั้งไว้ คือ • ผู้ป่วยอย่างน้อยร้อยละ 70 มีอาการดีขึ้น ความพึงพอใจในการรักษามีความรู้ความเข้าใจ และไม่แสวงหาการรักษาเพิ่มเติม ตัวชี้วัด 4: สุขภาพและความพึงพอใจของผู้ป่วยที่ไม่ได้ยาปฏิชีวนะ ที่มา: กองควบคุมยา ผู้ประเมิน: กัญญดา อนุวงศ์ และคณะ (2551) รายงานฉบับสมบรูณ์การประเมินโครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล Antibiotics Smart Use ในจังหวัดสระบุรี
ผลต่อสุขภาพ และการแสวงหาการรักษาเพิ่มเติม ที่มา: กองควบคุมยา ผู้ประเมิน: กัญญดา อนุวงศ์ และคณะ (2551) รายงานฉบับสมบรูณ์การประเมินโครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล Antibiotics Smart Use ในจังหวัดสระบุรี
ความพึงพอใจของผู้ป่วย (n=1196) ที่มา: กองควบคุมยา ผู้ประเมิน: กัญญดา อนุวงศ์ และคณะ (2551) รายงานฉบับสมบรูณ์การประเมินโครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล Antibiotics Smart Use ในจังหวัดสระบุรี
ร้อยละ 90 ของคนไข้ รู้ว่า... • เป็นหวัดต้องพักผ่อน • ท้องเสียควรกินเกลือแร่ • มากกว่า 70% ของคนไข้ยังไม่รู้ หรือมีความเชื่อที่ไม่ถูกต้องว่า • โรคหวัดเจ็บคอเกิดจากเชื้อไวรัส • คิดว่ายาปฏิชีวนะจะช่วยให้แผลหายเร็วขึ้น • อาหารเป็นพิษต้องกินยาฆ่าเชื้อหรือยาปฏิชีวนะ • เวลาไม่สบายส่วนใหญ่ ต้องกินยาปฏิชีวนะ จึงจะหาย • ยาปฏิชีวนะเป็นยาที่ปลอดภัย ไม่เคยมีใครตายจากการกินยาปฏิชีวนะ ความรู้-ความเชื่อของผู้ป่วย ที่มา: กองควบคุมยา ผู้ประเมิน: กัญญดา อนุวงศ์ และคณะ (2551) รายงานฉบับสมบรูณ์การประเมินโครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล Antibiotics Smart Use ในจังหวัดสระบุรี
สรุป (ผลตามตัวชี้วัด) • โครงการนำร่อง ASU ประสบความสำเร็จในการเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะ • ปริมาณและมูลค่าการใช้ยาปฏิชีวนะลดลง • ร้อยละผู้ป่วย 3 โรคเป้าหมายที่ไม่ได้ยาปฏิชีวนะ เพิ่มขึ้น • บุคลากรทางการแพทย์มีความรู้ ทัศนคติ ความเชื่อ และความตั้งใจไม่สั่งใช้ยาปฏิชีวนะเพิ่มขึ้น • คนไข้ที่ไม่ได้ยาปฏิชีวนะหายป่วย/อาการดีขึ้น พึงพอใจต่อผลการรักษา • ต้องเน้นประชาชนมากขึ้น
สรุป 2 (บทเรียนสระบุรี) • จุดแข็งของสระบุรีโมเดลที่ทำให้โครงการประสบผลสำเร็จ คือ • ภาวะผู้นำของนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดที่สนับสนุนโครงการอย่างเข้มแข็ง • ความพยายามของทีมผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Change agents’ effort) • ความตั้งใจจริงหรือการมีใจ (Will power) ของบุคลากรทางการแพทย์ในสถานพยาบาล • สิ่งท้าทาย • ประเด็นเรื่องของความยั่งยืนของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเมื่อโครงการยุติลง ซึ่งหากจะยั่งยืนจำเป็นต้องอาศัยความพยายามของทีมจังหวัดในการขับเคลื่อนเพื่อผนวกหรือผสมผสานกิจกรรมของโครงการเข้ากับงานประจำโดยมีจุดหมายร่วมกันคือเพื่อความปลอดภัยแก่คนไข้
ASU ปีที่ 2: ขยายผลอย่างไรให้ยั่งยืน (กันยายน 2551 – สิงหาคม 2552) อุบลราชธานี อยุธยา สมุทรสงคราม รพ.กันตัง (จ.ตรัง) กลุ่ม รพ. ศรีวิชัย ASU@ ปีที่ 2
นโยบายชัดเจน บริหารโครงการผ่านเครือข่ายที่เข้มแข็ง มีพิธีการร่วมกับส่วนกลาง เช่น การเปิดตัวโครงการ อบรมแบบ zoning มีแพทย์และเภสัชกร ในพื้นที่เป็นวิทยากร เภสัชกรจัดรายการวิทยุและเคเบิลท้องถิ่น นวตกรรม (เช่น แผ่น roll-up, แผ่นพลิก) อุบลราชธานี