240 likes | 470 Views
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มิติทางสังคม. ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา. ?. ทำไม เศรษฐกิจพอเพียง. Cosmic Calendar 1 Jan. Formation of Earth 4,600 mys. Late Mar. Photosynthesis fossil 3,500 mys.
E N D
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมิติทางสังคมปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมิติทางสังคม ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา
? ทำไม เศรษฐกิจพอเพียง
Cosmic Calendar 1 Jan. Formation of Earth 4,600 mys. Late Mar. Photosynthesis fossil 3,500 mys. 19 Nov. Cambrian Explosion 530 mys. 22 Nov. First Vertebrate 500 mys. 27 Nov. Mass Extinction 438 mys. 30 Nov. Inland Plants and Fish 400 mys. 3 Dec. Mass Extinction 367 mys. 4 Dec. Amphibians 360 mys. 12 Dec. Mass Extinction 248 mys. 13 Dec. Gliding reptiles 220 mys. 15 Dec. Mass Extinction 208 mys. 26 Dec. Tyrannosaurus rex 75 mys 27 Dec. Mass Extinction 65 mys. 28 Dec. Early primate 60 mys. 3 pm. 31 Dec. Homo habilis 2 mys. 23:59:58 31 Dec. Industrial revolution 200 yrs.
ปัญหาของโลก เกิดจากการบริโภค ที่เกินพอดี
มนุษย์บริโภคทรัพยากรเกินขีดจำกัดมนุษย์บริโภคทรัพยากรเกินขีดจำกัด (Living Planet Report, 2010) Carbon Grazing Forest จุดสมดุลของ การบริโภค Fishing Crop Land จุดเกินเลย 1.5 เท่าของโลก ของการบริโภค Built-up Land Number of Planet World Biocapacity 1961 1971 1981 1991 2001 2007
ประเทศที่พัฒนาแล้วบริโภคมากประเทศที่พัฒนาแล้วบริโภคมาก (Living Planet Report, 2010) มีการคาดการณ์ว่าในปี 2030และ 2050 การบริโภคจะเพิ่มขึ้นเป็น 2 และ 2.8เท่าของโลก ซึ่งหมายถึงเราจะต้องมีโลก 2-3ใบ จึงจะพอเพียง
การบริโภคทรัพยากรอย่างฟุ่มเฟือยการบริโภคทรัพยากรอย่างฟุ่มเฟือย ทำให้ดรรชนีความสมบูรณ์ทางธรรมชาติของโลกลดลง (Living Planet Report, 2010) 30 % ดรรชนีความสมบูรณ์ทางธรรมชาติ ของโลกลดลง30% ในปี 2007
มาทำความรู้จักการพัฒนาแบบ KPM กับ GCK อนาคต อดีต ถึง ปัจจุบัน KPM (Knowledge, Power, Money) GCK (Goodness, Culture, Knowledge) • เน้น GDP • ระบบทุนนิยม • การแข่งขัน การแก่งแย่ง • การใช้ทรัพยากรอย่างฟุ่มเฟือย • (ภัยพิบัติ มลภาวะ ปัญหาสังคม) • เน้น GNH • ระบบเศรษฐกิจแบบพึ่งพาตนเอง • เน้นการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น • เน้นการอนุรักษ์ทรัพยากรฯ • ส่งเสริมหลักธรรมาภิบาล
ภาวะโลกร้อน แก๊สเรือนกระจก ภัยพิบัติ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง ผลพวงของระบบKPM
ผลกระทบจากภาวะโลกร้อน และการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศต่อประเทศไทย ภาคสังคม ภาคเศรษฐกิจ • การจ้างงานลดลง • ชุมชนยากจนจากความอ่อนแอ • การย้ายถิ่นฐานสู่เมืองใหญ่ • ปัญหาอาชญากรรม • สุขพลานามัย ความปลอดภัยลดลง • การปรับตัว • การแข่งขันสูงจากกำลังซื้อที่จำกัด • ตลาดสินค้าเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม • ค่าประกันภัยสูงขึ้น • ต้นทุนทางการเงินสูงขึ้นจากแนวคิดความยั่งยืน • ผลผลิตภาคการเกษตรแปรปรวน ภาคการเมือง ภาคสิ่งแวดล้อม • ความตรึงเครียดตามแนวชายแดน • การก่อการร้าย • สงครามแย่งชิงแหล่งทรัพยากร • ความยากจน • ความร่วมมือGlobal gov. • การเคลื่อนย้ายสังคมพืชและสัตว์ไปทิศเหนือ • ภัยคุกคามต่อระบบนิเวศน์ • ความถี่ และความรุนแรงภัยพิบัติ • โรคระบาด • ความอดอยาก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีเป้าหมายปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีเป้าหมาย 1) เพื่อการพัฒนาที่สมดุล 2) เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 3) เพื่อการพัฒนาที่มีภูมิคุ้มกัน
ทางสายกลาง พอประมาณ มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี มีเหตุผล นำสู่ ชีวิต/เศรษฐกิจ/สังคม/สิ่งแวดล้อม สมดุล/มั่นคง/ยั่งยืน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เงื่อนไขความรู้(รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) เงื่อนไขคุณธรรม(ซื่อสัตย์สุจริต ขยันอดทน สติปัญญา แบ่งปัน)
เศรษฐกิจพอเพียง นามธรรม รูปธรรมสู่การปฏิบัติ การจัดการความเสี่ยง Risk Management ความพอประมาณ ความมีเหตุผล หรือการใช้ปัญญาในการแก้ไขปัญหา การจัดการและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ใน การพึ่งตนเอง
การมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรอย่างยั่งยืน (Sustainability) การสร้างภูมิคุ้มกันให้ตัวเอง ครอบครัว องค์กร และชุมชน การมีรายได้ที่มั่นคง (Income Stability) ความพอดี ความพอประมาณ ภูมิคุ้มกัน ความรู้ เป็นรากฐานสำคัญของเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง ควรกำหนดความพอดี ๕ ประการ
ความพอดีด้านจิตใจ • มีจิตใจเข้มแข็ง พึ่งตนเองได้ • มีจิตสำนึกที่ดี • มองโลกอย่างสร้างสรรค์ • เอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่ • ปรานีประนอม • ยึดประโยชน์สุข
ความพอดีด้านสังคม • ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน • รู้รักสามัคคี • เชื่อมโยงเครือข่าย • สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวและชุมชน • ผลประโยชน์ของส่วนรวม
ความพอดีด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมความพอดีด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • รู้จักใช้และจัดการอย่างฉลาดและรอบคอบ • เลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดความยั่งยืนสูงสุด • ระวังไม่ให้กิจกรรมกระทบสิ่งแวดล้อม - ขยะ น้ำเน่าเสีย ฯลฯ • รักษา ฟื้นฟู พัฒนา ทรัพยากร - ดิน น้ำ ลม ไฟ
ความพอดีด้านเทคโนโลยีความพอดีด้านเทคโนโลยี • รู้จักใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมสอดคล้องต่อ ความต้องการและสภาพแวดล้อม • พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาชาวบ้านของเราเองก่อน • ก่อให้เกิดประโยชน์กับคนหมู่มาก
ความพอดีด้านเศรษฐกิจ • มุ่งลดรายจ่าย • ยึดหลัก พออยู่ พอกิน พอใช้ • ไม่ใช้จ่ายเกินตัว เกินฐานะที่หามาได้ • หารายได้เพิ่มอย่างค่อยเป็นค่อยไป • หลีกเลี่ยงการก่อหนี้ โดยไม่มีผลตอบแทนที่คุ้มค่า • บริหารความเสี่ยงอย่างเข้มงวด