250 likes | 570 Views
Project-based Management project planning. การจัดทำ Work Breakdown Structure และ Responsibility Assignment Matrix ในการบริหารโครงการแบบ Project-based Management. รศ.ดร. วีระพงษ์ แพสุวรรณ ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 21 กรกฎาคม 2557 สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
E N D
Project-based Managementproject planning การจัดทำ Work Breakdown Structure และ Responsibility Assignment Matrix ในการบริหารโครงการแบบ Project-based Management รศ.ดร. วีระพงษ์ แพสุวรรณ ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 21 กรกฎาคม 2557 สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Introduction • Project-based Management • Project Planning • Work Breakdown Structure (WBS) • Responsibility Assignment Matrix (RAM) • Time Duration & Cost • Case Study
Project “ A unique process, consisting of a set of coordinated and controlled activities withstart and finish dates, undertaken to achieve an objectiveconforming to specific requirements including constraints of time, cost and resources -- Lockyer and Gordon, 1996 ’ ’
Project Planning Need / Opportunity Goals Actions / Responsibilty Objectives/Benefits Plan : activities, resources and time Work Breakdown Structure Solution /Delivery Strategy
Project Planning: WBS + RAM Work Breakdown Structure + Responsibility Assignment Matrix งาน + เวลา + เงิน + บุคลากร
Deliverable-Oriented • WBS ควรมุ่งเน้นสิ่งที่ส่งมอบ (deliverable-oriented) • 100% rule - กิจกรรมลูกรวมกันต้องได้ 100% ของกิจกรรมแม่ (ต้องรวมผลผลิต/ชิ้นงานทุกอันที่จะส่งมอบ) WBS ต้องสมบูรณ์ • โครงสร้างกิจกรรมของ WBS ไม่ใช่โครงสร้างองค์กร ไม่จำเป็นต้องแบ่งงานตามฝ่ายเสมอไป cross-functional team • Weighting • ขนาดของเนื้องาน • ขนาดของงบประมาณ • จำนวนบุคลากร • ความสำคัญของงาน (เช่น งานที่อยู่บน critical path) • Level of Detail • WBS ควรมีระดับความละเอียดที่เหมาะสมที่สนับสนุนการวางแผนและการควบคุมโครงการ • แต่ละโครงการนั้นแตกต่างกัน ดังนั้น WBS ที่เหมาะสมของโครงการก็จะแตกต่างกันไป (ขึ้นอยู่กับ PM + Supervisor ว่าจะบริหารโครงการอย่างไร) • แบ่งตามขั้นตอน/กระบวนการ • แบ่งตามชิ้นส่วนของ deliverable • แบ่งตามลักษณะงาน WBS Things to Keep in Mind • Participation • ควรจะให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง (stakeholders) มีส่วนร่วมในการจัดทำ WBS
WBS Example: Web Design Project • Web Design Project • 1.1 Planning • 1.1.1 Product Definition • 1.1.2 Stakeholder Approval • 1.2 Definition • 1.2.1 Requirements Development • 1.2.1.1 Business Requirement Development • 1.2.1.2 System Requirement Development • 1.2.2 Conceptual Design Development • 1.2.2.1 Conceptual Data Design • 1.2.2.2 Conceptual Process Design • 1.2.3 Architectural Design Development • 1.2.3.1 Web Design Methods Evaluation • 1.2.3.2 Web Design Method Selection • 1.2.4 Bill of Materials (BoM) Creation • 1.2.5 Resource Procurement • 1.2.5.1 Human Resource Procurement • 1.2.5.2 Hardware Procurement • 1.2.5.3 Software Procurement • 1.2.5.4 Telecom Procurement • 1.3 Construction • 1.3.1 Detailed Designed Development • 1.3.2 High-Level Test Plan Development • 1.3.3 System Components – Code, Unit Test • 1.3.3.1 Database Components • 1.3.3.2 Code/Logic Components • 1.3.3.3 Web GUI Interface Components • 1.4 Testing • 1.4.1 Testing Execution • 1.4.1.1 System Test • 1.4.1.2 User Acceptance Test • 1.4.1.3 Performance Test • 1.4.2 Analyze Defects/Correct • 1.4.3 Production Readiness Verification • 1.5 Deployment • 1.5.1 Transition • 1.2.1.1 Support Personnel Training • 1.2.1.2 Support Procedures Documentation • 1.5.1.3 Software • 1.5.1.4 Hardware • 1.5.2 Legacy System Decommissioning • 1.6 Project Management
งาน: 10%, เงิน: 10K งาน: 40%, เงิน: 100K งาน: 15%, เงิน: 150K งาน: 15%, เงิน: 20K งาน: 10%, เงิน: 50K WBS: tree structures งาน: 10%, เงิน: 30K
Responsibility Assignment Matrix (RAM) Work Breakdown Structures + Organization Breakdown Structures Responsibility Assignment Matrix Responsibility Responsibility Assignment Matrix Assignment Matrix
การประมาณการค่าใช้จ่ายและทรัพยากรเวลาการประมาณการค่าใช้จ่ายและทรัพยากรเวลา เทคนิคในการประมาณค่า • Guesstimating • Delphi Technique • Time-Boxing • Analogous Estimates (Past experiences) • Top-Down • Bottom-Up • Parametric Modeling (Statistical)
เทคนิคในการประมาณค่า(1)เทคนิคในการประมาณค่า(1)
โครงการการปรับปรุงอุปกรณ์ในระบบการวัดและศึกษาพารามิเตอร์ของลำอิเล็กตรอนโครงการการปรับปรุงอุปกรณ์ในระบบการวัดและศึกษาพารามิเตอร์ของลำอิเล็กตรอน • 1. ชื่อโครงการ • โครงการการปรับปรุงอุปกรณ์ในระบบการวัดและศึกษาพารามิเตอร์ของลำอิเล็กตรอน • 2. หลักการและเหตุผล • เนื่องจากความเสถียรเชิงตำแหน่งของลำอิเล็กตรอนนั้นมีความสำคัญอย่างมากต่องานวิจัยที่ใช้แสงซินโครตรอน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับระบบลำเลียงแสงที่มีการโฟกัสลำอิเล็กตรอนให้มีขนาดเล็กลง หรือระบบลำเลียงแสงที่ใช้เทคนิคการแทรกสอดกันของแสง เช่น เทคนิคการทดลอง FTIR (Fourier Transform Infrared Spectroscopy) เพราะฉะนั้นการปรับปรุงลำอิเล็กตรอนให้มีความเสถียรจึงมีความจำเป็นอย่างมาก ซึ่งทางฝ่ายเทคโนโลยีเครื่องเร่งอนุภาคได้ให้ความสำคัญและมีการพัฒนาปรับปรุงมาอย่างต่อเนื่อง เช่น การปรับปรุงระบบการวัดตำแหน่งของลำอิเล็กตรอน การปรับปรุงระบบการควบคุมอุณภูมิในวงกักเก็บอิเล็กตรอน การติดตั้งอุปกรณ์เพื่อสืบค้นและวิเคราะห์ข้อมูลความสัมพันธ์ รวมถึงการทดสอบโปรแกรมการควบคุมความเสถียรเชิงตำแหน่งอัตโนมัติ (global slow orbit feedback) ทำให้ปัจจุบันนี้อิเล็กตรอนมีความเสถียรเชิงตำแหน่งมากขึ้น โดยวัดค่าการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งทั้งในแนวนอน และในแนวดิ่งได้ประมาณ 5 ไมโครเมตร ทั้งนี้เพื่อเป็นการปรับปรุงประสิทธิภาพการควบคุม และวิเคราะห์ตำแหน่งของลำอิเล็กตรอน อุปกรณ์วัดตำแหน่งแสงโฟตอน (Photon Beam Position Monitor : PBPM) เป็นอีกหนึ่งอุปกรณ์ที่สำคัญที่ใช้ในการระบุตำแหน่งของแสงโฟตอนที่เปลี่ยนแปลงไปในแต่ละสถานีวิจัย และสามารถนำข้อมูลการวัดมาใช้ในการปรับปรุงระบบควบคุมความเสถียรเชิงตำแหน่งนี้ได้ • 3. วัตถุประสงค์ของโครงการ • เพื่อเพิ่มเติมระบบการวัดตำแหน่งแสงโฟตอน • เพื่อศึกษาและลดผลกระทบต่อความไม่เสถียรเชิงตำแหน่งของลำอิเล็กตรอน จากการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ ทั้งอุณหภูมิอากาศ และอุณหภูมิน้ำหล่อเย็นของแม่เหล็ก ฯ • เพื่อลดผลกระทบต่อความไม่เสถียรเชิงตำแหน่งของลำอิเล็กตรอน จากการเปลี่ยนแปลง Gap ของอุปกรณ์แทรก เช่น อัลดูเลเตอร์ มัลติโพลวิกเลอร์ • เพื่อลดผลกระทบต่อความไม่เสถียรเชิงตำแหน่งของลำอิเล็กตรอน จากการการทรุดตัวของโครงสร้างอาคาร • 4. เป้าหมาย/ตัวชี้วัด • อุปกรณ์วัดตำแหน่งแสงโฟตอนได้ติดตั้งแล้วเสร็จภายในเดือนตุลาคม 2558 บริเวณสถานีวิจัยที่ 2 บริเวณสถานีวิจัยที่ 4 • มี Diagnostic Beamlineเพื่อศึกษาพารามิเตอร์ของลำอิเล็กตรอน
5. วิธีและขั้นตอนการดำเนินงาน (WBS) ศรัญญู, พรทิพย์, สุโข งาน: 10%, เงิน: 0.16M พรทิพย์ งาน: 10%, เงิน: 0.16M พรทิพย์, สุพรรณ, ศรัญญู งาน: 15%, เงิน: 0.24M PM: พรทิพย์ เงิน: 3.7M สุพรรณ, ศรัญญู, พรทิพย์, สุโข งาน: 10%, เงิน: 0.16M พรทิพย์, ศิริวรรณ, มาลี งาน: 20%, เงิน: 2.47M พรทิพย์, สุโข, ศิริวรรณ งาน: 25%, เงิน: 0.40M ศรัญญู, พรทิพย์ งาน: 10%, เงิน: 0.16M
6. แผนการดำเนินงานและระยะเวลาในการดำเนินงาน
7. งบประมาณและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ • 7.1 หมวดงบประมาณ
7.2 แผนการใช้จ่ายงบประมาณ
8.1 ผู้รับผิดชอบโครงการ • R: Responsible • ผู้ทำงาน • A: Accountable • ผู้รับผิดชอบเป็นผู้แจกจ่ายงานให้ผู้ทำงาน (R) • C: Consulted • ให้คำปรึกษา/ชี้แนะ มักเป็น 2-way communication • I: Informed • ต้องรายงายผล/ความก้าวหน้าให้เป็น 1-way communication
9. หน่วยงานที่ให้การสนับสนุน • ฝ่ายเทคโนโลยีเครื่องเร่งอนุภาค • ส่วนพลศาสตร์ลำอนุภาค • ส่วนงานปฏิบัติการเครื่องเร่งอนุภาค • ส่วนงานระบบควบคุม • ฝ่ายพัสดุ • 10. การประเมินผล (KPI) • อุปกรณ์วัดตำแหน่งแสงโฟตอนได้ติดตั้งแล้วเสร็จภายในเดือนตุลาคม 2558 บริเวณสถานีวิจัยที่ 2 บริเวณสถานีวิจัยที่ 4 • มี Diagnostic Beamline เพื่อศึกษาพารามิเตอร์ของลำอิเล็กตรอน • 11. ผลที่คาดว่าจะได้รับ • ได้อุปกรณ์สำหรับงานในระบบวัดตำแหน่งแสงโฟตอนเพิ่มเติม ที่ สถานีวิจัยที่ 2 และสถานีวิจัยที่ 4รวมทั้ง Diagnostic Beam line ซึ่งอุปกรณ์ทั้งสองระบบจะเป็นอุปกรณ์ที่สำคัญสำหรับใช้วิเคราะห์คุณลักษณะของแสงซินโครตรอน พร้อมทั้งใช้หาสาเหตุและปรับปรุงความไม่เสถียรของลำอิเล็กตรอนที่เกิดขึ้นจาก อุณหภูมิ การทรุดตัวของโครงสร้าง อาคาร และอุปกรณ์แทรก
12. การดูแผนการดำเนินงานโครงการด้วย S-Curve