180 likes | 664 Views
National Bureau of Agricultural Commodity and Food Standards (ACFS). "Q สินค้าคุณภาพมาตรฐานและ Q แหล่งจำหน่าย". นางสาวพรพนิดา ภู่จินดา. Office of Commodity and System Standards Accreditation, National Bureau of Agricultural Commodity and Food Standards, Chatuchak, Bangkok 10900.
E N D
National Bureau of Agricultural Commodity and Food Standards (ACFS) "Q สินค้าคุณภาพมาตรฐานและ Q แหล่งจำหน่าย" นางสาวพรพนิดา ภู่จินดา Office of Commodity and System Standards Accreditation, National Bureau of Agricultural Commodity and Food Standards, Chatuchak, Bangkok 10900
ประเด็นเนื้อหา • ประเภทเครื่องหมายมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร หรือ “Q” • เครื่องหมาย “Q” รับรอง • เครื่องหมาย “Q” แหล่งจำหน่าย 2. กระบวนการรับรองระบบและผลิตภัณฑ์เพื่อให้ได้ เครื่องหมายรับรอง “Q” 3. ความแตกต่างระหว่าง “Q” รับรอง และ “Q” แหล่งจำหน่าย 2
ที่มาและความสำคัญของเครื่องหมาย Q ที่มาและความสำคัญของเครื่องหมาย Q “ ” “ ” 1. เครื่องหมาย “Q” คืออะไร มีความสำคัญอย่างไร ? 1. เดิมมีเครื่องหมายหลายแบบ/หลายชนิด ตามที่แต่ละหน่วยงานกำหนดขึ้น 2. เป็นเอกลักษณ์ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ให้เป็นเครื่องหมายเดียวของประเทศไทย สำหรับสินค้าเกษตรและอาหาร 3. มีรหัส เพื่อป้องกันการปลอมใบรับรอง และตรวจสอบย้อนกลับได้ เมื่อเกิดปัญหา 4. เกิดจุดร่วม Symbol ในการใช้และประชาสัมพันธ์ สร้างความเชื่อมั่น 3
กำเนิด Q Mark - 8 กรม ในกระทรวงเกษตร บันทึกข้อตกลง MOU – กันยายน 2546 1. กรมวิชาการเกษตร 2. กรมปศุสัตว์ 3. กรมประมง 4. มกอช. – ทำหน้าที่กำหนดรูปแบบ Q Mark & ให้รหัส 5. กรมส่งเสริมการเกษตร 6. กรมพัฒนาที่ดิน 7. อตก. 8. กรมส่งเสริมสหกรณ์ 4
เครื่องหมาย Q เครื่องหมาย Q “ ” “ ” เครื่องหมายรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรและ อาหารที่ใช้ในการให้การรับรองระบบ หรือตัว สินค้า(เกษตรและอาหาร) แสดงถึงคุณภาพและความปลอดภัย ตามมาตรฐานที่กำหนดไว้ (ตามมาตรฐานสากล) มุ่งหมายเพื่อการส่งออก ต่อมามีการปรับเปลี่ยน (Domestic) 1. เครื่องหมาย “Q” คืออะไร มีความสำคัญอย่างไร ? 5
ลักษณะของเครื่องหมาย "Q" ลักษณะของเครื่องหมาย "Q" 1. เครื่องหมาย “Q” คืออะไร มีความสำคัญอย่างไร ? (ต่อ) กษ xx-xx-xxxxx-xxxxxxxx-xxx กษ xx-xx-xxxxx-xxxxxxxx-xxx เป็นรูปตัว Q สีเขียวเข้ม และ สีทอง ขนาด > 1.5 cm. 1 หางตัว Q เป็นสีธงชาติ 2 ด้านล่างแสดงรหัสหน่วยงานรับรอง ประเภทการรับรอง มาตรฐานที่ให้การรับรอง 3 3 รหัสมาตรฐานผู้ประกอบการ/ฟาร์ม/บริษัทที่ได้รับการรับรอง และชื่อ/ชนิด/ประเภท 6 สินค้าที่นำมาขอการรับรองมาตรฐาน
การแสดงรหัสภายใต้เครื่องหมาย "Q" การแสดงรหัสภายใต้เครื่องหมาย "Q" รหัสที่ 1 รหัสที่ 1 รหัสที่ 2 รหัสที่ 2 สินค้าอาหารประเภทพืชและผลิตภัณฑ์ สินค้าอาหารประเภทพืชและผลิตภัณฑ์ รหัสที่ 3 รหัสที่ 3 หน่วยรับรอง หน่วยรับรอง กรมส่งเสริมการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร สินค้าอาหารประเภทปศุสัตว์และผลิตภัณฑ์ สินค้าอาหารประเภทปศุสัตว์และผลิตภัณฑ์ ประเภทการรับรอง ประเภทการรับรอง กรมปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์ รหัสที่ 4 รหัสที่ 4 มาตรฐานที่ให้การรับรอง มาตรฐานที่ให้การรับรอง สินค้าอาหารประเภทประมงและผลิตภัณฑ์ สินค้าอาหารประเภทประมงและผลิตภัณฑ์ บริษัท/ผู้ประกอบการ/ฟาร์ม บริษัท/ผู้ประกอบการ/ฟาร์ม รหัสที่ 5 รหัสที่ 5 กรมประมง กรมประมง ชื่อ/ชนิด/ประเภทสินค้า ชื่อ/ชนิด/ประเภทสินค้า ระบบ CoC ระบบ CoC 22 = 01 = 01 = 02 = 02 = 03 = 04 = 03 = 04 = 11 = 13 = 12 = 12 = 11 = 21 = 21 = 22 = 13 = กรมวิชาการเกษตร กรมวิชาการเกษตร ระบบ GAP ระบบ GAP กษ XX-XX-XXXXX-XXXXXXXX-XXX กษ XX-XX-XXXXX-XXXXXXXX-XXX 7
รหัสที่ 1 หน่วยรับรอง • 01 กรมประมง • 02 กรมปศุสัตว์ • 03 กรมวิชาการเกษตร • 04 กรมส่งเสริมการเกษตร • 05 กรมส่งเสริมสหกรณ์ • 06 กรมพัฒนาที่ดิน • 07 สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ • 08 องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร • 09 กรมการข้าว • 10 ................................................ 8
รหัสที่ 1 หน่วยรับรอง (ต่อ) 11. สำนักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (มกท.) 12. บริษัทเอสจีเอส (ประเทศไทย) จำกัด 13. บริษัทโกลบอล เซอร์ติฟิเคชั่น(ประเทศไทย)จำกัด 14. บริษัทเอเจเอ รีจีสตร้าส์ จำกัด 15. สำนักรับรองระบบคุณภาพ (สรร.) สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย(วว.) 16. บริษัท บูโร เวอริทัส เซอร์ทิฟิเคชั่น (ประเทศไทย) จำกัด 17. สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ 18. บริษัท ทูฟ นอร์ด (ประเทศไทย) จำกัด 9
Example Q Mark - GAP กษ03-22-02500-xxxxxxxx-xxx กรมวิชาการเกษตร GAP GAP หน่อไม้ฝรั่ง รหัสที่ 4 บริษัท/ผู้ประกอบการ/ฟาร์ม รหัสที่ 5 ชื่อ/ชนิด/ประเภทสินค้า 10
Examples Q Mark - GAP หน่อไม้ฝรั่ง กรมวิชาการเกษตร กษ03-22-02500-xxxxxxxx-xxx GAP กรมวิชาการเกษตร 11
1. เครื่องหมายรับรอง “ Q ” 1. เครื่องหมายรับรอง “ Q ” กษ XX-XX-XXXXX-XXXXXXXX-XXX ผลิตภัณฑ์ที่ให้การรับรอง กรม/หน่วยงาน ลักษณะของเครื่องหมายรับรอง " Q ” แบ่งออกเป็น 2 ประเภท แสดงถึงความปลอดภัย (Safety) ของสินค้าเกษตรและอาหาร 12
2. เครื่องหมายรับรอง " Q Premium " แสดงถึงความปลอดภัย(Safety) และการคัดแยกชั้นคุณภาพหรือ มีการผลิตและการจัดการเป็นพิเศษ เช่น เกษตรอินทรีย์ กษ XX-XX-XXXXX-XXXXXXXX-XXX ระบบ/สินค้าที่ให้การรับรอง 13 กรม/หน่วยงาน
2. เครื่องหมาย “Q” แบ่งการรับรองออกเป็นกี่ประเภท? ประเภทการรับรองเครื่องหมาย "Q" 1) รับรองระบบการผลิต (system) : รับรองว่าผลิตผลนั้นได้จากวิธีการผลิตเป็นไปตามหรือสอดคล้องกับข้อกำหนด เช่น ระบบ GMP/HACCP, CoC (อาจไม่จำเป็นต้องเก็บตัวอย่างมาตรวจสอบก่อนวางจำหน่าย) ไม่สามารถติดฉลาก Q Mark บนตัวผลิตผลได้ 2) รับรองตัวผลิตภัณฑ์/ผลิตผล (product) : ผลิตผลจากระบบการผลิต และก่อนวางจำหน่ายต้องมีการเก็บตัวอย่างมาตรวจสอบ หาคุณสมบัติบ่งชี้ถึงมาตรฐานใดมาตรฐานหนึ่ง เช่น เกษตรอินทรีย์ ผักปลอดสารพิษ เนื้อสัตว์อนามัย หรือ ข้อกำหนดที่จำเป็นอื่น สามารถติดฉลาก Q Mark บนตัวผลิตผลได้ 14
แผนภูมิแสดง การรับรองผลิตภัณฑ์และระบบการผลิต เพื่อได้เครื่องหมาย แผนภูมิแสดง การรับรองผลิตภัณฑ์และระบบการผลิต เพื่อได้เครื่องหมาย มกอช. ยื่นขอ ยื่นขอ ใบรับรอง + เครื่องหมาย"Q" - ตาม 17021,G.65 etc - Standard ที่ตรวจประเมิน (หลักเกณฑ์เงื่อนไข การใช้เครื่องหมาย) เช่น GAP,GMP,HACCP etc 3. เครื่องหมาย “Q”ได้มาอย่างไร ? Accredit Accredit ภาครัฐ ตรวจประเมิน เอกชน ตัดสินใจ โรงงาน,ฟาร์ม กวก./กปม./กปศ./กรมการข้าว ผล ผล บริษัท/Lab สถานประกอบการ ให้การรับรอง หน่วยรับรอง (CB) ( ห้อง Lab ) ( Lab ) ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ผ่าน ตรวจติดตาม ตรวจติดตาม Surveillance Surveillance
ประเภทของเครื่องหมาย Q • 1. เครื่องหมาย Q รับรอง • Q สีเขียว • Q สีทอง 2. เครื่องหมาย Q แหล่งจำหน่าย 16
ความแตกต่าง Q รับรอง และ Q แหล่งจำหน่าย 17
สวัสดี สวัสดี @www.acfs.go.th @www.acfs.go.th/qmark/index.html