1 / 83

การบริหารจัดการธุรกิจเหมืองแร่ เพื่อลดต้นทุนการผลิต Mining Business Management for Cost Reduction

การบริหารจัดการธุรกิจเหมืองแร่ เพื่อลดต้นทุนการผลิต Mining Business Management for Cost Reduction. สมหวัง วิทยาปัญญานนท์ บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย (ท่าหลวง) จำกัด กรกฎาคม 2551. ภารกิจธุรกิจเหมืองแร่ Mining Business Mission. ภารกิจธุรกิจเหมืองแร่.

Download Presentation

การบริหารจัดการธุรกิจเหมืองแร่ เพื่อลดต้นทุนการผลิต Mining Business Management for Cost Reduction

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารจัดการธุรกิจเหมืองแร่เพื่อลดต้นทุนการผลิตMining Business Managementfor Cost Reduction สมหวัง วิทยาปัญญานนท์ บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย (ท่าหลวง) จำกัด กรกฎาคม 2551

  2. ภารกิจธุรกิจเหมืองแร่Mining Business Mission

  3. ภารกิจธุรกิจเหมืองแร่ภารกิจธุรกิจเหมืองแร่ • ลดต้นทุน (Cost Reduction)การผลิต VC โสหุ้ย FC การบริหาร FO ค่าเสื่อม DP เงินลงทุน IC ต้นทุนรวม TC จำนวนการผลิตที่เหมาะสม Vop or Economic Scale การเพิ่ม OEE • เพิ่มรายได้ (Income Improvement)เพิ่มยอดขาย price รายได้เสริม Other Income ผลิตภัณฑ์ใหม่และบริการใหม่ new product/new services เพิ่มมูลค่า Value Added • แสวงหาโอกาส(Opportunity Search)ช่องทางจำหน่าย เกรดสินค้าใหม่ สินค้าใหม่ เปลี่ยนผลิตภัณฑ์ (หินก่อสร้างเป็นหินอ่อน หินคาร์บอเนต)ตลาดใหม่ลูกค้าใหม่ ลูกค้าต่างประเทศ

  4. การเพิ่มมูลค่าวัตถุดิบการเพิ่มมูลค่าวัตถุดิบ • เพิ่มราคา (Price)ราคาเพิ่มแต่ยอดขายไม่ลด ต่อรอง สินค้ายามวิกฤติ • การเพิ่มคุณภาพ(Quality Upgrade)เพิ่มคุณภาพราคาจะเพิ่ม เอามลทินออกยกระดับสินค้า • การเพิ่มหัวแร่ (Recovery)ได้หัวแร่มากมีกากทิ้งน้อย • การลดของเสีย(Zero  Waste)ของเสียมุ่งสู่ศูนย์ ขยะไม่มีใช้งานได้หมด

  5. ระบบที่มาช่วยลดต้นทุนการผลิตManagement Systemsconcern Cost Reduction

  6. สิ่งที่ต้องทำในการลดต้นทุนอย่างเป็นระบบสิ่งที่ต้องทำในการลดต้นทุนอย่างเป็นระบบ 1)     ต้องรู้โครงสร้างของต้นทุนก่อนในหมู่คนผู้เกี่ยวข้อง 2)     ศึกษาผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการลดต้นทุนทั้งทางบวกและทางลบ 3)     ระดมสมองในหมู่ที่เกี่ยวข้อง 4)     จัดลำดับความสำคัญในการลดต้นทุน มักทำในสิ่งที่ได้ง่าย รวดเร็ว ลดต้นทุนได้มากก่อน 5)     มีระบบการติดตามผลงานการลดต้นทุน เช่น Performance Index หรือจุดวัดว่าในระดับต่างๆ ต้องดูแลอะไร ตั้งแต่กรรมการผู้จัดการ ผู้จัดการส่วน วิศวกรประจำส่วน ผู้จัดการแผนก (ให้ดูการบริหารนโยบายในวิชา TQM ประกอบ)

  7. ระบบที่มาช่วยลดต้นทุนระบบที่มาช่วยลดต้นทุน • การบริหารเชิงประสิทธิผลโดยรวมTPM • การบริหารคุณภาพโดยรวม TQM • การวิเคราะห์ทำไม Why-Why Analysis • ผังก้างปลา Cause and Effects Diagram • ข้อมูลและความจริง Fact and Data Management • DOE • Balance Scorecards • Loss Tree Analysis • Inventory Control

  8. หลักการขจัดความสูญเปล่าเพื่อลดต้นทุนการผลิตLoss Management

  9. การสูญเสียทั้งเจ็ด 7 Wastes • ผลิตเกินoverproduction: producing more, sooner and faster than required by the next process • ขนส่งมากเกินexcess transportation: any transport that adds cost but no value to the product • พัสดุมากเกินexcess inventory: this not only is a waste, but also creates waste • ทำมากเกินexcess processing: doing more work than necessary • รอนานไปwaiting: operator or machine idle time • แก้ไขงานที่บกพร่องcorrection: repairs to products • เคลื่อนที่เกินจำเป็นmotion: walking or wasted motion to pick up or store parts.

  10. ขั้นตอนการขจัดการสูญเสียขั้นตอนการขจัดการสูญเสีย • นิยามความสูญเสีย (Loss Definition) • ไล่โครงสร้างการสูญเสีย (Loss Tree) • จัดลำดับความสำคัญของการสูญเสีย (Priority) • การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) • ตั้งโครงการ (Project Setting) • ปฏิบัติตามแผนในโครงการ (Action Plan) • ทบทวนการสูญเสีย (Review) ตรวจสอบผลการลดการสูญเสีย โดยมุ่งสู่ศูนย์  (Zero Loss)

  11. การลดการสูญเสียในเหมืองQuarry Loss Reduction ทั่วไป -  ใช้กระดาษสิ้นเปลือง                -  รถบริการ                -  วัสดุสิ้นเปลือง  ยุค  ถุงมือ  คืนชากก่อน                -  วิทยุสื่อสารใช้ไม่ได้  ใช้โทรศัพท์ส่วนตัว                -  เบิกอุปกรณ์สำนักงานเกินจำเป็น                -  งบประชุม  งบเลี้ยง  รับแขก ไฟฟ้า                -  วัตถุดิบหกล้น                -  น้ำรั่วไหล  (ห้องน้ำ)                -  คู่ธุรกิจเล่นเกม                -  น้ำปะปารั่ว  ปั้มทำงานตลอด                -  ควรใช้หลอดประหยัดไฟ                -  โฟโดเซลไม่ทำงานตอนกลางวัน ? Check -  ไฟฟ้า #5                -  รอรถ Dump  รถไม่พอ                -  คอมพิวเตอร์ไม่ปิดหลังเลิกใช้

  12. เชื้อเพลิง                -  น้ำมันหกล้นหลังเติมเต็มเจอมุมเอียง  45  องศา                -  สตารท์เครื่องจักรโดยไม่วิ่ง  รถจอดเปิดแอร์รอขณะเดินดูหน้างาน                -  จ่ายงานผิดเบนต้องกลับไป                -  ย้ายเครื่องจักรบ่อย  วางแผนได้ดี                -  หัวจ่ายน้ำมันสั่งซึมไม่ยอมซ่อม                -  ระเบิดบ่อย  รถเบิดที่เดินหนีที                -  ใช้รถไม่เหมาะสมกับงานจุดตัก  ขนาดรถตัก  จำนวนรถ Dump  เทรคเตอร์ดันกอง สต็อกน้อย                -  ไม่บริหารรถบริการงานเดียวกันไปคนละเที่ยวไม่ถูกกันหรือ? -  ขนส่งลาดชันใช้น้ำมันมาก                -  การผลิต ไม่  Just in time  -  หลบระเบิดไกลเกินไป  ติดต่อกับมือระเบิดไม่ได้  ไกลไว้ก่อน                -  ยกเลิกรถส่วนตัวในงาน                -  Bio-diesel  น้อยเกินไป  เร่งผลิตได้แล้ว                -  พนักงานต่างคนต่างมาคนละคัน                -  อุ่นเครื่องจักรนานเกินไปไม่ต้องรอจนแอร์เย็น                -  เครื่องยนต์ไม่มีแรง  ดันจนควันดำต่อ  OT  อีกต่างหาก                -  รถ>>> ติดเครื่องรอหน้า  CR  นานไป  สื่อสาร  CR >>> ว่านานดับเครื่องไปเลย                -  เช่น  OEE  รถตัก

  13. วัตถุดิบ                -  ใช้  CD  หลายแผ่น                -  ใช้สวนทางจัดการหินฝุ่น                -  กองสต็อกวัตถุดิบ  Double  Handing -  ใช้วัตถุดิบคุณภาพสูง  ไม่ผสมของคุณภาพต่ำออกไม่ได้                -  ที่ดินไม่ได้ใช้ประโยชน์อีกมาก                -  สต็อกวัตถุดิบ  วัตถุดิบจมฝังดินเอามาใช้ไม่ได้                -  จ่ายหินแล้วเอาไปทิ้งเพราะมักเสียอุบัติเหตุชั่งแล้วน้ำหนักเกิน                -  ดินดำ  ดินเหลือง  กองผสมกัน  วัตถุดิบด้วยตัว ภาพรวม                -  PDCA              -  ดีก็เอาเป็นตัวอย่างไม่ดีก็เอามาแก้ไขปรับปรุง

  14. หลักการลดต้นทุนการผลิตCost Reduction Principle

  15. โครงสร้างการเงิน • โครงสร้างการเงินรายได้ที่ได้จากการประกอบธุรกิจมาจากเงินสุทธิของการขายสินค้าและบริการ การทำให้รายได้สุทธิ (กำไร) เพิ่มขึ้น ต้องขายเพิ่มขึ้น และลดรายจ่ายลง • รายได้สุทธิ = รายได้จากการขาย – รายจ่าย

  16. การทำให้รายได้เพิ่มขึ้นการทำให้รายได้เพิ่มขึ้น • เพิ่มปริมาณการขาย ซึ่งขึ้นอยู่กับสัดส่วนการตลาด ช่องทางจำหน่ายสถานะการตลาด ท่าเรือส่งออก ชุมชนที่จะสนับสนุน • -          ขายภายในประเทศ • -          ส่งออกไปขายยังต่างประเทศ • ขึ้นราคาสินค้า ซึ่งมีขีดจำกัดด้านราคาในตลาด คู่แข่งขัน ความศรัทธาของลูกค้าที่มีต่อภาพพจน์สินค้า และหน่วยงานคุ้มครองผู้บริโภค • ขายสินทรัพย์ที่ไม่ใช้แล้ว เช่น ที่ดิน เครื่องจักร อาคาร

  17. การลดรายจ่าย • ลดต้นทุนผันแปรในการผลิต โดยเทคนิคการลดต้นทุนต่างๆ • ลดต้นทุนคงที่ในส่วนที่เป็นโสหุ้ย โดยศึกษาและตัดต้นทุนที่ไม่จำเป็นออกไป • ลดค่าใช้จ่ายด้านบริหารและการขาย • ลดค่าเสื่อมราคาเครื่องจักร โดยการยึดระยะเวลา (ปี) ที่หักค่าเสื่อม • ลดค่าใช้จ่ายทางด้านการเงิน ได้แก่ ดอกเบี้ย โดยการเงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ • ค่าภาษีและธรรมเนียมต่างๆ • ลดค่าหนี้สูญ โดยการบริหารสินเชื่อที่มีประสิทธิภาพ

  18. นโยบายลดต้นทุนที่เหมาะสมกับสถานะปัจจุบันนโยบายลดต้นทุนที่เหมาะสมกับสถานะปัจจุบัน • ลดต้นทุนภายใต้ภาวะเงื่อนไขในปัจจุบัน • ลดต้นทุนที่ไม่อยู่ภายใต้ภาวะเงื่อนไขในปัจจุบัน อาจต้องมีการเปลี่ยนแปลงบางอย่าง ทั้งนี้ทั้งนั้นจะต้องยึดหลักชนะทั้งคู่

  19. ระดับความยากง่ายในการลดต้นทุนระดับความยากง่ายในการลดต้นทุน • ระดับ 1: เปรียบเสมือนการตักน้ำจากบ่อ ลดได้มาก หรือมีช่องทางให้เล่น ได้มาก • ระดับ 2: เปรียบเสมือนน้ำหมดบ่อแล้วต้องขอด เอาจากก้นบ่อ ซึ่งจะยากขึ้น • ระดับ 3: เปรียบเสมือนน้ำแห้งแล้ว ตักไม่ได้แล้ว ต้องเอาผ้าแห้งไปซับ เอามา บิดถึงจะได้น้ำ ระดับนี้จะต้องใช้ความพยายามมากขึ้น • ระดับ 4: เปรียบเสมือนน้ำหมดบ่อแล้ว ซับอย่างไรก็ไม่เปียก แต่เราต้อง พยายามเอาน้ำมาให้ได้ อาจต้องถึงกับใช้วิธีไล่ด้วยความร้อน แล้วเอาไอน้ำมากลั่นตัว ระดับนี้ยากที่สุด เพราะมองไม่เห็นทางที่จะลดต้นทุนเลย

  20. สามวิธีในการลดต้นทุน • ค่าใช้จ่าย = (ต้นทุนต่อหน่วย) คูณ (ปริมาณ) • วิธีการลดต้นทุนมีดังนี้ • ทำให้ต้นทุนต่อหน่วยต่ำสุด เช่น ราคาน้ำมัน ราคาวัตถุระเบิด ราคาวัตถุดิบ • ทำให้ปริมาณน้อยลง เช่น ปริมาณที่ใช้ให้ลดลง • ตัดงานนั้นออกไป หากไม่จำเป็น

  21. การทำให้ต้นทุนต่อหน่วยลดลงการทำให้ต้นทุนต่อหน่วยลดลง • เปลี่ยนมาตรฐาน เช่น วัตถุดิบที่มีคุณภาพเกินความจำเป็น ต้องทิ้งของเสียมาก ทำให้ต้นทุนสูง ก็ให้ใช้วัตถุดิบที่มีคุณภาพที่พอเพียงเข้ามาทดแทน • เลือกของทดแทนที่มีราคาถูกกว่า โดยการเปรียบเทียบจากผู้ขายหลายเจ้า หลายแห่ง ไม่ให้มีการผูกขาด • อาศัยส่วนลดราคา โดยการสั่งซื้อคราวละปริมาณมากๆ จะได้ส่วนลดมาก หรือเปรียบเทียบราคาที่อ้างอิงต่างๆ ราคาสินค้าอาจเปลี่ยนแปลง โดยการซื้อมากๆ ซื้อทีละชิ้น ให้เลือกที่เหมาะสม อาจเทียบจาก e-commerce

  22. การทำให้ปริมาณลดลง • ทำให้อายุการใช้งานยาวนานขึ้น • เปลี่ยนแปลงเงื่อนไข เช่น การเปลี่ยนหรือซ่อมตามรอบเวลา เป็นการเปลี่ยนหรือซ่อมตามสภาพ • ลดจำนวนคน – ชั่วโมงในงาน • ลดงานซ้ำซ้อนจากการจ้างเหมา • -          ผู้รับเหมาเป็นศูนย์ โดยการทำเอง (แต่อาจขัดนโยบาย) • -          ทำสัญญาประจำหรือรายชิ้น สำหรับงานที่ควบคุมได้ยาก ดูที่ผลสำเร็จของงานก็เพียงพอ • นิยามปัญหาและกำจัด 3 Mu • Muri = กำจัดการเกินกำลัง • Muda = กำจัดการสูญเปล่า • Mura = กำจัดความไม่สม่ำเสมอ • เช่น ลดของทิ้ง ลดของเสีย ลดจุดบกพร่อง กำจัดพัสดุคงคลังที่เกินจำเป็น ลดการรอคอย ลดความเบี่ยงเบน ระหว่างแผนกับผล โดยทั่วไปแล้ว 3 Mu จะไม่ขัดแย้งกับคุณภาพและการส่งมอบ • ทำให้ใช้น้อยลงในกลุ่มงานที่ไม่มีการเพิ่มมูลค่าในเรื่องงาน วัตถุดิบ กระบวนการ ตลอดจนการวิเคราะห์กำลังพลที่เหมาะสมในแต่ละกระบวนการ • เลือกทางเลือกที่ต้นทุนต่ำในพื้นที่เพิ่มมูลค่า โดยใช้วิศวกรรมคุณค่า หรือการวิเคราะห์คุณค่า • คุณค่า = (หน้าที่ใช้งานที่ต้องจ่าย) / (ค่าใช้จ่ายจริง) • หรือโดยการใช้ QC Story ในการแก้ปัญหางานให้บรรลุหรือการปรับปรุงแบบก้าวกระโจน • ทดแทนเต็มที่ด้วยระบบใหม่ เช่น การรีเอนจิเนียริ่ง การออกแบบระบบหรือกลไกใหม่ การไม่ตั้งเป้าโดยใช้ข้อมูลปีที่ผ่านมา ให้คิดใหม่ทำใหม่

  23. ตัดงานที่ไม่จำเป็นออกไปตัดงานที่ไม่จำเป็นออกไป • ให้แก้ที่เหตุรากเหง้า • อาจต้องรวมงานเพื่อความประหยัด • การใช้เทคโนโลยีหรือนวัตกรรม • การรีเอนจิเนียริง

  24. การวางแผนการทำเหมืองเพื่อลดต้นทุนการผลิตGood Mining Plan for Cost Reduction

  25. แผนการทำเหมือง • แผนการกินหลายคุณภาพมาผสมกัน • มีตารางแผนการใช้เครื่องจักรที่เหมาะสม เช่นรถตักคู่กับรถบรรทุก • การใช้ประโยชน์จากหินเสีย • เดินหน้าเหมืองให้สอดคล้องกับเงื่อนไขสิ่งแวดล้อมและแผนผัง

  26. การออกแบบการทำเหมืองเพื่อลดต้นทุนการผลิตMining Design for Cost Reduction

  27. การออกแบบทำเหมือง • เส้นทางสั้นสุด • ความลาดเอียงทางขนส่งไม่มาก • กินจากใกล้ไปไกล • ใช้ไหล่เขาให้เป็นประโยชน์ • วางแผนคุณภาพให้ดี • หน้าเหมืองไม่แคบเกินไป • มองไกล อย่ามองแค่ปีสองปี • เลือกเดินหน้าเหมือง ด้วยเครื่องจักรที่เหมาะสม • เลือกวิธีการทำเหมืองที่เหมาะสม • ออกแบบเครื่องจักรย่อยหินที่เหมาะสม

  28. การปรับปรุงประสิทธิภาพการทำเหมืองเพื่อลดต้นทุนการผลิตMining Operation Excellence

  29. การใช้หินรอผสม (หินปนดิน) เพื่อลดต้นทุนWaste Blending for Cost Reduction 1.   การผสมหินรอผสมมากหรือน้อย ให้พิจารณาคุณภาพหลังเครื่องย่อย และปริมาณส่งมอบเป็นหลัก โดยผสมแล้วคุณภาพทางเคมี และ % ดินยังผ่านเกณฑ์กำหนด และสามารถย่อยทำกองได้ทัน 2.   กรณีหินรอผสมไม่แห้งมากนัก ให้ทำการผสมหินดีกับหินรอผสม ให้กะ  เดียวกัน โดยผสมหินรอผสมไม่เกิน 25 % ของหินที่ย่อย 3.   กรณีที่หินรอผสมแห้งสามารถตักขนเข้าโดยไม่ผสมตลอดกะ แต่ Operator เครื่องย่อยจะต้องหมั่นเพิ่มลด%การป้อนของสายพานเหล็กตลอดเวลา โดยพิจารณาจากค่ากระแสของค้อนย่อย 4.   กรณีที่มีดินปนหินมาก  จน% การป้อนสายพานเหล็กน้อยกว่า 35%                               ให้แจ้งเพื่อทำการตักผสมหรือเปลี่ยนจุดตัก

  30. การปรับปรุงประสิทธิภาพเครื่องย่อยเพื่อลดต้นทุนการผลิตCrushing Effectiveness

  31. ตันสูญเสียของเครื่องย่อยหินตันสูญเสียของเครื่องย่อยหิน ตันย่อย ไม่ได้เป้าหมาย ตัน / กะ ตัน / วัน ตัน / เดือน ตัน / ชม.ย่อย ตัน / ชม.เฉลี่ย จากกะ, วัน, กอง ชม. / กะ ชม. / วัน ชม. / เดือน ชั่วโมงย่อยมากกว่าแผน ตัน/ชั่วโมงน้อยกว่าแผน หยุดใน เวลาย่อย ในกะย่อย หยุดนอก เวลาย่อย ในกะย่อย หยุดนอก กะย่อย เหตุจาก รถบรรทุก เหตุจาก ผู้ควบคุม เครื่องย่อย เหตุจาก วัตถุดิบ เหตุจาก เครื่องย่อย

  32. การเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องย่อยหินการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องย่อยหิน • อัตราการย่อย (ตัน/ชม.) ไม่ถึงเกณฑ์ออกแบบ ต้องเพิ่ม เช่น Spec. ออกแบบการันตี 750 ตัน/ชม. สถานการณ์จริงในปีนี้ทำได้ 543 ตัน/ชม. ปัญหา 207 ตัน/ชม. • ชั่วโมงทำงานต้องเพิ่ม - ชั่วโมง/เดือน มากกว่าที่กำหนดเนื่องจาก ตัน/ชม. ต่ำกว่า Spec. เช่น ต้องการย่อย 750 ตัน/ชม. X 100 ชม. = 75,000 ตัน ทำได้จริง 543 ตัน/ชม. X 138 ชม. = 75,000 ตัน ต้องลดชั่วโมงทำงาน ปัญหามีอยู่ 38 ชั่วโมง • ชั่วโมง/กะ น้อยกว่าที่กำหนด เวลาสูญเสีย (Downtime) มาก

  33. สาเหตุการหยุดใน สาเหตุการหยุดนอก เวลาย่อยในกะย่อย เวลาย่อยในกะย่อย 16:00 น. • รอรถบรรทุก (วิ่งขาดระยะ) • หินติดปากอ่าง • เครื่องโปรยลื่น • เหล็กเข้าไม้ลง • สายพานเอียง • เครื่องจักรชำรุด • สายพานขาด • รถโปรยกองตกราง • เก็บตัวอย่างบนสายพาน • ช่างฟิตเข้าซ่อม • ชู๊ตตัน • สายพานหยุดวัตถุดิบอัด • เข้าบำรุงรักษา • เริ่มเดินเครื่อง หินยังไม่เท • รอรถบรรทุก (ยังไม่มา) • รอผู้ควบคุม • หัวหน้าสั่งให้หยุด • รถบรรทุกเลิกงานก่อน • เคลียร์หินบนสายพาน • หลบระเบิด • สต๊อกเต็มกอง • รอรถกวาดเข้ากอง • เวลาย่อยที่ฆ้อนหมุน (นับหมด) • เวลาหยุดที่ฆ้อนหมุนไม่มี Output • เวลาหยุดที่ฆ้อนหยุด กะย่อย 08:00 น.

  34. กะที่ไม่มีการย่อย และ ไม่สามารถเข้าทำการย่อยได้ เนื่องจากเหตุปัจจัยภายนอก สาเหตุการหยุดนอกกะย่อย • นักขัตฤกษ์ • แผนหยุดย่อย • แผน PM • แผนซ่อมใหญ่ • น้ำท่วม • รอรถกวาดเข้ากอง • PM ไม่ตรงกับการรอรถกวาดเข้ากอง

  35. ตัน / ชั่วโมง น้อยกว่าแผน • สาเหตุจากรถบรรทุก • จำนวนรถน้อย • เที่ยว / ชม. น้อย • สาเหตุจากผู้ควบคุมเครื่องย่อย • เพิ่งมาใหม่ • ลดอัตราการป้อน • ขาดเทคนิค • สาเหตุจากวัตถุดิบ • หินก้อนโตล้วน ๆ • หินปนดินมากไป • หินเปียก ทำให้ฆ้อนอื้อ • สาเหตุจากเครื่องย่อย • สายพานเหล็กเดินช้า • หินไม่เต็มอ่าง • แรงเสียดทานหินก้อนกับผนังสายพานเหล็ก • ค้อนอื้อ • กองหินโปรยกองสูง • หินบนสายพานเอียง

  36. การเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องย่อยหินการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องย่อยหิน การเพิ่ม ตัน/กะ เฉลี่ยทั้งกอง พิจารณาที่ ตัน / เดือน เท่าเดิม ใช้เวลาชั่วโมง ย่อยน้อยลง เพิ่ม ตัน/ชั่วโมง ให้สูงขึ้น เพิ่มจำนวน ตันสต๊อกกอง ให้มากขึ้น ย่อยเต็ม กองให้เร็ว

  37. ใช้เวลาชั่วโมงย่อยน้อยลงใช้เวลาชั่วโมงย่อยน้อยลง • ลดเวลาหยุดในเวลาย่อยในกะย่อย • ลดเวลาหยุดนอกเวลาย่อยในกะย่อย • ลดเวลาหยุดนอกกะย่อย • ติดต่อช่างฟิต เฝ้าระวังเครื่องย่อยตลอดเวลาย่อย

  38. เพิ่ม ตัน/ชั่วโมง ให้สูงขึ้น • จำนวนเที่ยว/ชม. ของรถบรรทุกมากพอ (รถต้องรอเครื่องย่อย) • เส้นทางลำเลียงดี รถบรรทุกใช้ความเร็วได้ • ใช้ขนาดรถบรรทุกให้ใหญ่พอ เพื่อลดจำนวนรถ • หินป้อนมีขนาดสม่ำเสมอ • ตั้ง GAP ฟันฆ้อนให้เหมาะสม ไม่เล็กเกินไป • หินเต็มอ่างป้อนเข้าเครื่องย่อยเต็มที่ • สายพานเหล็กป้อนเร็ว • ตักผสมหิน (ชู๊ต) ให้ขนาดคละกัน • ในช่วงเริ่มกองต้องให้ ตัน/ชม. สูง และปลายกองลดความเร็ว เพียงเพื่อป้องกันรถ • โปรยลื่น • ทาน้ำมันขอบผนังสายพานเหล็ก • ช่วงหน้าแล้ง ฆ้อนกินหินผสมดินได้ • ช่วงหน้าฝน หินผสมดินต้องผสมหินโต

  39. เพิ่มจำนวนตันสต๊อก • กองให้มากขึ้น • ลดวันย่อยเต็มกอง เพื่อหลีกเลี่ยง • การย่อยไม่ทันรถกวาด • ปรับชู๊ตหินลงรถกวาดให้ทิศทาง เดียวกับสายพานโปรย • ช่วงหม้อเผาหยุดรีบทำกองสูง • ย่อยเต็มกองให้เร็ว • กรณีจำเป็นอาจต้องย่อยกะ 3 • เพิ่มชั่วโมงย่อยในกะ

  40. การปรับปรุงกระบวนการตักขนหินเพื่อลดต้นทุนการผลิตExcavation and Transportation

  41. ผลกระทบตามกระบวนการผลิตต่อผลกระทบตามกระบวนการผลิตต่อ ประสิทธิภาพเครื่องย่อยหิน • ขนาดกอง • รถกวาด • การเทกอง • กองหิน • การกระจายขนาดหิน • การตักหิน • การขนส่ง • การเทลงอ่างเครื่องย่อย • ระดับหินในอ่าง • สายพานเหล็ก • เครื่องย่อย • การซ่อมบำรุง • สายพานลำเลียง • ชู๊ตเท • รถโปรย

  42. การเท - นำหินปนดินลงเทชู๊ตมาก กระทบ ตัน/ชม. - หินมีเศษเหล็ก กรองน้ำมัน ท่อนไม้ผสมลงมา เศษโลหะ Metal Detector จะจับ ต้องหยุดสายพาน ท่อนเหล็กจะตี Grinding Path แตก ท่อนไม้ ขัดชู๊ต กระทบชั่วโมงย่อย - เทหินก้อนโตลงชู๊ต ติดช่องปากอ่าง ขัดกันที่สายพานเหล็ก ติดช่องป้อนเข้า เครื่องย่อย กระทบชั่วโมงย่อย - เทผิดชู๊ต หินหล่นใส่รถตัก กระทบชั่วโมงย่อย

  43. กองหิน • - ขนาดกองใหญ่เกินไป ดินปนหินก้นกองมาก ตักผสมลำบาก หน้าตัดกอง • ขณะตักสูงชัน ไม่กล้าตัก กระทบ ตัน/ชม. • - ขนาดกองเหมาะสม ตักคลุกเคล้าระหว่างหินปนดินก้นกองกับหินโตผสม • กัน ได้ ตัน/ชม. สูงที่เครื่องย่อย • - มีหินโตฝังบนยอดกอง คนขับรถตักไม่กล้าตักหรือไม่กล้ารีบตัก กระทบ • ตัน/ชม. • - หินโตบนยอดกองตกใส่รถตัก กระทบชั่วโมงย่อย • กอง 3 ไกลกว่ากอง 2 ไกลกว่ากอง 1 ระยะทางขนส่งที่ไกลจากเครื่องย่อย • มากกว่า ทำให้จำนวนเที่ยวรถบรรทุกป้อนเครื่องย่อยลดลง กระทบ ตัน/ชม.

  44. การกระจายขนาดหินกอง - หินก้นชู๊ตเป็นดินปนหิน (หินโซน C) ขนาดเล็ก ขณะแห้ง เพิ่ม ตัน/ชม. หาก เปียกชื้น (ฤดูฝน) ทำให้ฆ้อนอื้อ ตัน/ชม. ตก - หินกลางชู๊ต (หินโซน B) ขนาดกลาง ปริมาณดินน้อย (เหมาะสำหรับป้อน โรงย่อยหินก่อสร้าง) การย่อยทำได้ดี ได้ ตัน/ชม. - หินตีนกองชู๊ต (หินโซน A) ขนาดโต ไม่มีดินปน หากโตมากติดปากอ่าง กระทบ ชั่วโมงย่อย การย่อยใช้เวลา กินกระแสไฟฟ้ามาก ตัน/ชม. ตก นอกจากนี้หินโต มีปริมาณมาก รถตักต้องเสียเวลาตักแยกกอง และกองกีดขวางการถอยรถ บรรทุกเข้ารับหินจากรถตัก กระทบ ตัน/ชม.

  45. การตักหินชู๊ต - ตักคลุกเคล้าหินโซน A และ B หรือโซน B และ C จึงจะได้ ตัน/ชม. เครื่องย่อยสูง - หากกินโซน C เปียก ต้องตักหินโซน A หรือ B เข้าผสม จึงจะได้ ตัน/ชม. - รถตักต้องรอรถบรรทุก จึงจะได้ ตัน/ชม. สูง - รถตักล้อยางจะตักหินชู๊ตที่ผสมหินโซนต่าง ๆ ได้ดีกว่ารถตักตีนตะขาบ

  46. การขนส่ง - ระยะทางจากชู๊ตตักถึงเครื่องย่อย กระทบ ตัน/ชม. - เส้นทางไม่เรียบ ขรุขระ รถบรรทุกลดความเร็ว -ฝุ่นมากตามเส้นทางขนส่ง รถบรรทุกลดความเร็ว - ถนนลื่นจากฝนตก รถบรรทุกลดความเร็ว - ทางแคบจากการสร้างแนวสายพาน ข้างทางสายประธาน รถบรรทุกลด ความเร็ว - ปริมาณรถบรรทุกเพิ่มขึ้นจากรถสิบล้อขนหินเข้าโรงย่อยหินก่อสร้าง และรถ โครงการก่อสร้างอื่นๆ ต้องลดความเร็วซึ่งกระทบ ตัน/ชม. - ปริมาณรถบรรทุกไม่เพียงพอหรือลดลง เนื่องจากการหยุดซ่อมบำรุงรักษา ยางระเบิด ยางขาดสต๊อก

  47. การเทลงอ่างเครื่องย่อยการเทลงอ่างเครื่องย่อย - ขณะอ่างรับหินว่างต้องค่อยเทลงเป็นหลายจังหวะ เพื่อลดการชำรุดของ สายพานเหล็ก กระทบชั่วโมงย่อย - รถบรรทุกต้องรอเครื่องย่อย จะได้ ตัน/ชม. สูง - การเทหินโดยเร็ว หินโตอาจวิ่งเข้าชนสายพานเหล็ก หรือกระแทกอ่างพัง

  48. ระดับหินในอ่าง - ระดับสูงมากเกินไป สายพานเหล็กรับน้ำหนักมากใช้กระแสไฟฟ้ามาก มอเตอร์ทำงานหนัก การเสียดสีที่เฟืองขับสูง ต้องลดอัตราการป้อน กระทบ ตัน/ชม. - ระดับต่ำเกินไป ความหนาหินป้อนบนสายพานเหล็กน้อย กระทบ ตัน/ชม. - ปล่อยให้ระดับหินในอ่างว่างบ่อย ๆ อ่างรับหินและสายพานเหล็กอาจชำรุด กระทบชั่วโมงย่อย

  49. สายพานเหล็ก - ความเร็วในการป้อนน้อย เนื่องจากมอเตอร์ขับ หรือล๊อคเอาไว้ กระทบ ตัน/ชม. - หล่อลื่นไม่เพียงพอ แรงเสียดทานสูง ความเร็วในการป้อนน้อยลง กระทบ ตัน/ชม. - ข้อโซ่สายพานเหล็กหลุดบ่อย ต้องหยุดเชื่อม หรือตีเข้า กระทบชั่วโมงย่อย - รางรับสายพานเหล็กเอียง หินเข้าฆ้อนหนักข้างเดียว ต้องลดอัตราการป้อน กระทบ ตัน/ชม.

  50. สายพานเหล็ก (ต่อ) - แบริ่งร้อน ไฮดรอลิคมอเตอร์ร้อน ต้องลดอัตราการป้อน ป้องกันอุณหภูมิสูง เกินกำหนด กระทบ ตัน/ชม. - ปีกของสายพานเหล็กตั้งตรง แรงเสียดทานสูง สำหรับหินก้อน ความเร็วหิน ป้อนน้อยกว่าความเร็วสายพาน หินบางก้อนหมุนอยู่กับที่ โดยเฉพาะที่ติด ผนัง กระทบ ตัน/ชม. (ทางแก้ไข ใช้น้ำมันเครื่องเสียทาบาง ๆ ที่ผนังของ สายพานเหล็ก - ความกว้างสายพานต้องสัมพันธ์กับชู๊ตเข้าเครื่องย่อย มิเช่นนั้น หินก้อนโต บนสายพานเหล็กจะเข้าติดขัด

More Related