210 likes | 394 Views
Hazardous Waste Management. ดร.ขวัญฤดี โชติชนาทวีวงศ์ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย 8 สิงหาคม 2546. โดย. จำนวนโรงงานอุตสาหกรรม จำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม ปี พ.ศ.2544. ภาค จำนวนโรงงาน (โรงงาน) จำพวกที่ 1 จำพวกที่ 2 จำพวกที่ 3 รวม. กลาง 4,935 10,921 33,854 49,710
E N D
Hazardous Waste Management ดร.ขวัญฤดี โชติชนาทวีวงศ์ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย8 สิงหาคม 2546 โดย
จำนวนโรงงานอุตสาหกรรมจำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม ปี พ.ศ.2544 ภาค จำนวนโรงงาน (โรงงาน) จำพวกที่ 1 จำพวกที่ 2 จำพวกที่ 3 รวม กลาง 4,935 10,921 33,854 49,710 ตะวันออกเฉียงเหนือ 26,202 4,040 9,205 39,447 เหนือ 6,673 2,896 8,402 17,971 ใต้ 2,764 1,467 6,279 10,510 ตะวันออก 1,018 730 4,693 6,441 รวมทั้งประเทศ 41,592 20,054 62,433 124,079 ที่มา:ศูนย์สารสนเทศ กรมโรงงานอุตสาหกรรม
การกระจายตัวของโรงงานอุตสาหกรรมรายจังหวัด 10 ลำดับแรก จังหวัด จำนวน (แห่ง) จำพวกที่ 1 จำพวกที่ 2 จำพวกที่ 3 รวม กรุงเทพมหานคร 2,679 7,146 10,448 20,273 นครราชสีมา 4,579 633 1,971 7,183 สมุทรปราการ 211 851 5,825 6,887 ขอนแก่น 3,174 542 960 4,676 อุดรธานี 2,657 621 1,042 4,320 ร้อยเอ็ด 2,743 318 492 3,553 สมุทรสาคร 70 152 3,166 3,388 นครปฐม 89 331 2,294 2,714 มหาสารคาม 2,185 112 268 2,565 เชียงใหม่ 963 294 1,244 2,501 รวม 10 จังหวัด 19,350 11,000 27,710 58,060 รวมทั้งประเทศ 41,592 20,054 62,433 124,079 ที่มา:ศูนย์สารสนเทศ กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม, 2545
กากของเสียอันตราย หมายถึงของเสียที่อยู่ในสภาพของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซที่มีลักษณะเป็นอันตราย กล่าวคือ ติดไฟง่าย กัดกร่อน เมื่อทำปฏิกริยาแล้วเกิดอันตรายง่ายและสารพิษต่างๆ รวมทั้งกากของเสียอันตรายที่บำบัดแล้ว
ปริมาณของเสียอันตราย : กรณีศึกษาของ Engineering Science ปี 1989
ประเภท (ตัน/ปี) 2529 2534 2539 2544 น้ำมัน 124,1974 219,467 387,893 686,358 กากสารอินทรีย์เหลว 187 311 522 876 ตะกอนและของแข็งสารอินทรีย์ 3,737 6,674 11,951 21,533 ตะกอนและของแข็งสารอนินทรีย์ 11,698 19,254 32,043 54,080 ตะกอนและของแข็งโลหะหนัก 421,761 731,837 1,269,391 2,194,373 ตัวทำละลาย 19,783 36,163 66,532 124,306 ของเสียที่เป็นกรด 81,051 125,428 196,510 311,714 ของเสียที่เป็นด่าง 21,952 34,235 54,024 86,198 น้ำเสียล้างอัดรูป 8,820 16,348 30,398 57,809 ขยะชุมชน 7,231 11,787 19,090 31,093 ขยะติดเชื้อ 46,674 76,078 123,219 200,699 รวม 747,216 1,277,849 2,192,124 3,770,183
ปริมาณของเสียอันตราย : กรณีศึกษาของ JICA (2545) คาดการณ์ 33,092 โรงงาน ใน 33 ประเภทโรงงาน
การคาดการณ์ปริมาณกากของเสียอันตรายการคาดการณ์ปริมาณกากของเสียอันตราย ตัน ปี
การคาดการณ์ปริมาณของเสียอุตสาหกรรมจำแนกตามประเภทของเสียการคาดการณ์ปริมาณของเสียอุตสาหกรรมจำแนกตามประเภทของเสีย ประเภท ปริมาณ (ตันต่อปี) ของเสียอันตราย 2544 2548 2553 Acid 1,881 1,966 2,000 Alkali 2,956 3,003 3,044 Heavy metal compound 4,555 4,687 4,724 Liquid inorganic compounds 51,774 54,797 57,590 Solid inorganic compounds 585 607 628 Organic compounds 14,579 15,636 16,632 Polymer material 18,331 19,850 21,286 Fuel, oil and grease 159,690 163,974 168,340 Fine chemicals and biocides 18 18 18 Picking waste 1,419 1,502 1,565 Filter, materials, treatment sludge 180,238 187,977 191,057 Other toxic Substance 121,430 126,892 131,394 รวมทั้งสิ้น 557,456 580,909 598,278
จำนวนโรงงานที่รับกำจัดของเสียอุตสาหกรรมในปี 2545 โรงงานกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว จำนวนโรงงาน (โรงงาน) ประเภทที่เป็นของเสียอันตราย (Hazardous Wastes) โรงงานลำดับที่ 101 ปรับคุณภาพของเสียรวม 7 โรงงานลำดับที่ 105 คัดแยก และ/หรือฝังกลบของเสีย1 โรงงานลำดับที่ 106 นำของเสียกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ 3
ตัน ปี
ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้น ขาดข้อมูลปริมาณกากของเสียที่ชัดเจนและถูกต้อง ค่าใช้จ่ายในการกำจัดของเสียค่อนข้างสูง การนำของเสียอันตรายไปทิ้งหรือกำจัดร่วมกับมูลฝอยทั่วไป การลักลอบนำของเสียอันตรายไปทิ้งในที่สาธารณะ วิธีการขนส่งไม่เหมาะสม การจัดเก็บของเสียอันตรายเพื่อรอการกำจัด
ข้อจำกัดของประเภทโรงงานแปรรูปใช้ใหม่ข้อจำกัดของประเภทโรงงานแปรรูปใช้ใหม่ อัตราการนำกากของเสียใช้ซ้ำ/นำกลับมาใช้ใหม่มีสูง แต่การจัดการยังไม่เป็นระบบ เทคโนโลยีในการผลิตไม่เหมาะสม การขาดความร่วมมือจากสถานประกอบการ การขาดการประชาสัมพันธ์ การขาดบุคลากรและงบประมาณ
สรุป ปัญหาการรั่วไหล หกหล่นของสารเคมีและกากของเสียอันตรายยังเกิดขึ้นให้เห็นเสมอๆ ขาดมาตรการควบคุมตั้งแต่การเก็บ การขนส่ง การนำกลับไปใช้ใหม่ และการกำจัด/บำบัด ที่เป็นระบบและใช้ได้ผลในทางปฏิบัติ การจัดการปัจจุบัน มุ่งเน้นไปที่การกำจัด/บำบัด การนำกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ หรือการ Recycle ยังมีไม่มากนัก ขาดงานวิจัยด้านการรีไซเคิลเฉพาะประเภทของเสียที่สามารถนำมาลงทุนในเชิงพาณิชย์
แนวทางการลดและกำจัดของเสียแนวทางการลดและกำจัดของเสีย ลดที่แหล่งกำเนิด • มาตรการระหว่างประเทศ • การจัดการภายในโรงงาน CT, EMS for SMEs, recycle, LCA ลดของเสียที่เกิดขึ้นก่อนส่งไปกำจัด • waste exchange • การส่งไปปรับปรุงคุณภาพและนำกลับมาใช้ใหม่ • recycling การกำจัด