1.04k likes | 2.36k Views
เส้นทางสู่ความเป็นเลิศทางการพยาบาล Excellent in nursing service. ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ พศ. 2551. Hospital’s vision. “ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ เป็นโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยชั้นนำ ระดับมาตรฐานสากล ” Mission
E N D
เส้นทางสู่ความเป็นเลิศทางการพยาบาลExcellent in nursing service ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ พศ. 2551
Hospital’s vision “โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ เป็นโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยชั้นนำ ระดับมาตรฐานสากล” Mission ให้บริการด้านสุขภาพอย่างมีมาตรฐาน ยึดหลักผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง ส่งเสริมการศึกษาวิจัย ด้วยวิทยาการที่ทันสมัย โดยความร่วมมือร่วมใจของบุคลากรที่มีคุณภาพ
ค่านิยมคนสวนดอก • ค = คุณภาพเด่น • น = เน้นนวตกรรม • ส = สร้างสรรค์สามัคคี • ว = วจีจับใจ • น = น้ำใจมากล้น • ด = ดำรงตนเป็นแบบอย่าง • อ = องค์กรแห่งการเรียนรู้ • ก = กตัญญูคู่คุณธรรม
สมรรถนะหลักบุคคลากร • มีจิตบริการ (Service mind) • มีจริยธรรม คุณธรรม (Morality) • ทำงานเป็นทีม (Teamwork) • มุ่งผลสัมฤทธิ์ (Achievement) • สั่งสมความเชี่ยวชาญในงาน (Expertise)
Nursing division’s vision(พศ. 2551 – 2555) “ฝ่ายการพยาบาล เป็นองค์กรชั้นนำให้บริการพยาบาลที่มีคุณภาพระดับมาตรฐานสากล มุ่งสู่ความเป็นเลิศ” Mission • เสริมสร้างฝ่ายการพยาบาลให้เป็นองค์กรที่มีความเป็นเอกภาพเข้มแข็ง บริหารงานโดยยึดหลักธรรมาธิบาล เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และส่งเสริมให้บุคลากรมีคุณภาพชีวิตการทำงานที่ดี • พัฒนาระบบบริการพยาบาลให้มีคุณภาพระดับมาตรฐานสากล มุ่งสู่ความเป็นเลิศ ยีดหลักวิชาการอย่างมีเหตุผล ควบคู่คุณธรรมเป็นฐานในการตัดสินใจ เน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง ผู้รับบริการมีความเชื่อมั่นและพึงพอใจ • พัฒนาบุคลากรทางการพยาบาลให้เป็นผู้มีสมรรถนะเทียบเท่ามาตรฐานระดับสูงบุคลากรมีความผูกพันยึดมั่นต่อองค์กร
คุณค่าหลัก (Core value) คุณธรรมดี (Virtue) มีคุณภาพ(Qaulity)
จุดเน้นของฝ่ายการพยาบาลจุดเน้นของฝ่ายการพยาบาล • มีความเชี่ยวชาญเฉพาะสาขาทุกการพยาบาลผู้ป่วย เพื่อมุ่งสู่ความเป็นเลิศ (Excellent in nursing service) 2. ให้การบริการพยาบาลที่มีคุณภาพโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์มารองรับ (Evidence-based practice) 3. การดูแลผู้ป่วยด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ (Humanized Health Care) 4. ผู้ป่วยปลอดภัย (Patient safety)
เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ • การบริหารการพยาบาลมีความเข็มแข็ง มีความมุ่งมั่นร่วมกันทุกระดับ ในการพัฒนาองค์กรและบริการพยาบาล 2. ระบบบริการพยาบาลมีคุณภาพได้มาตรฐานระดับสากล มุ่งสู่ความเป็นเลิศ ผู้รับบริการมีความเชื่อมั่นและพึงพอใจ 3. ระบบบริการพยาบาลใช้ความรู้ / การวิจัย เป็นฐานในการตัดสินใจ มีวัฒนธรรมเรียนรู้ ในทุกระดับของฝ่ายการพยาบาล 4. ระบบบริหารทรัพยากรบุคลากรที่ตอบสนองความต้องการของการบริการพยาบาลได้ครอบคลุม บุคลากรมีความผูกพันยึดมั่นต่อองค์กร และมีคุณภาพชีวิตการทำงานที่ดี
องค์กรที่มีขีดความสามารถสูง (High Performance Organization : HPO)หรือ องค์กรแห่งความเป็นเลิศ (Excellence Organization) • มีคุณลักษณะสำคัญ 5 ประการ • การตั้งเป้าหมายที่ท้าท้ายและแสวงหาแนวทางในการบรรลุเป้าหมายนั้น • การมีค่านิยมร่วมกันของบุคลากรทั่วทั้งองค์กร • การมุ่งเน้นที่ยุทธศาสตร์และการทำให้ทั่วทั้งองค์กรดำเนินงานไปในทิศทาง เดียวกัน • การแปลงยุทธศาตร์ไปสู่สิ่งที่สามารถเข้าใจและปฏิบัติได้ • เป็นองค์กรที่มีความยืดหยุ่น • (The Gartner group)
หน่วยราชการจะเป็นองค์กรที่มีขีดความสามารถสูงหน่วยราชการจะเป็นองค์กรที่มีขีดความสามารถสูง ต้องประกอบด้วยคุณลักษณะสำคัญหรือแนวทางสำคัญ 6 ประการ คือ • การมุ่งเน้นที่ผู้รับบริการ (Client-centered) • การมุ่งเน้นที่ผลผลิตและผลลัพธ์ (Outcome-oriented) • สามารถชี้แจงและรับผิดชอบ (Accountable) • มีความคิดสร้างสรรค์และมีความยืดหยุ่น (Innovative and flexible) • พร้อมที่จะทำงานร่วมกับหน่วยงานอื่น (Open and collaborative) • มีความมุ่งมั่น (Passionate)(Jane C. Linder & Jeffrey D. Brooks)
หน่วยราชการจะเป็นองค์กรที่มีขีดความสามารถสูงต้องมีความสามารถ (Capabilities)ที่สำคัญอีก 9 ประการ คือ • การวางยุทธศาสตร์และนโยบาย (strategy and policy making) • การออกแบบองค์กรและกระบวนการทำงาน(Organization and process design) • การบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance management) • การมีพันธมิตรและเครือข่าย (Partnering) • การดำเนินงานที่ดี (Operations) • การตลาดและการสร้างความสัมพันธที่ดีกับลูกค้า (Marketing and CRM) • การจัดหาและการขนส่ง (Procurement and logistics) • การบริหารทุนมนุษย์ (Human capital management) • การบริหารข้อมูลสารสนเทศ (Information management) (Linder and Brook)
Creating High Performance Organization High Performance OrganizationTransformation • Functional Process (Mission &Strategy) • Functional expert Team/Process leader • Title & SeniorityKnowledge • FixFlexible • Conservative/defensiveProactive & dynamic • Day to Day/ RoutineStrategic • High control High trust • Produce things Produce knowledge • Individual decisions Team decisions • Individual rewards Team-based rewards • Vertical-functional organization Horizontal-flow-based organization • Companies with walls Companies without walls • Financial secrecy open-book management • Blame-fix the person Blame-fix the process HPO Traditional
ปัจจัยหลักในการสร้างองค์กรที่เป็นเลิศKey Success Factors to HPO • การมียุทธศาสตร์ (Strategy)ที่ดี • ความสามารถในการแปลงยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ • ขีดความสามารถ(competencies)ของบุคลากรในองค์กรที่เหมาะสม และสอดคล้องกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ • โครงสร้างและกระบวนการทำงานที่เหมาะสมกับยุทธศาสตร์ • ค่านิยม วัฒนธรรมองค์กรที่สอดคล้องเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ • ข้อมูลและความรู้ต่าง ๆ • การบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performances management) • ภาวะผู้นำ
จรรยาบรรณพยาบาล ฉบับปีพุทธศักราช 2546 • พยาบาลรับผิดชอบต่อประชาชน ผู้ต้องการการพยาบาลและบริการสุขภาพ • พยาบาลประกอบวิชาชีพด้วยความเมตตากรุณา เคารพในคุณค่าของชีวิต ความมีสุขภาพดีและความผาสุกของเพื่อนมนุษย์ • พยาบาลมีปฏิสัมพันธ์ทางวิชาชีพกับผุ้ใช้บริการ ผู้ร่วมงานและประชาชนด้วยความเคารพในศักดิ์สรีและสิทธิมนุษยชนของบุคคล • พยาบาลยึดหลักความยุติธรรมและความเสมอภาคในสังคมมนุษย์ • พยาบาลประกอบวิชาชีพโดยมุ่งสู่ความเป็นเลิศ • พยาบาลพึงป้องกันอันตรายต่อสุขภาพและชีวิตของผู้ใช้บริการ • พยาบาลรับผิดชอบในการปกิบัติให้สังคม เกิดความเชื่อถือไว้วางใจต่อพยาบาลและต่อวิชาชีพการพยาบาล • พยาบาลพึงร่วมในการทำความเจริญก้าวหน้าให้แก่วิชาชีพการพยาบาล • พยาบาลพึงรับผิดชอบต่อตนเอง เช่นเดียวกับรับผิดชอบต่อผู้อื่น
จรรยาบรรณพยาบาล ฉบับปีพุทธศักราช 2546 • ข้อ 5 พยาบาลประกอบวิชาชีพโดยมุ่งสู่ความเป็นเลิศ “พยาบาลประกอบวิชาชีพ โดยมุ่งความเป็นเลิศปฏิบัติการพยาบาล โดยมีความรู้ในการกระทำ และสามารถอธิบายเหตุได้ในทุกกรณี พัฒนาความรู้และประสบการณ์อย่างต่อเนื่อง รักษาสมรรถนะในการทำงาน ประเมินผลงานและประกอบวิชาชีพ ทุกด้านด้วยมาตรฐานสุงสุดเท่าที่จะเป็นไปได้”
การดำเนินงานพัฒนาคุณภาพฝ่ายการพยาบาลการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพฝ่ายการพยาบาล 2545 2550 2530 2535 2540 2555 5 ส HA EBP-Best practice Excellence HA / TQA
เส้นทางสู่ความเป็นเลิศเส้นทางสู่ความเป็นเลิศ HA / TQA เตรียมsurveillance2552 Re-accredit2551 Re-accredit2546 ผ่าน HA -2544
เป้าหมายของ HA • คือ การส่งเสริมให้ระบบบริการสุขภาพเกิดการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดคุณภาพ ความปลอดภัย และผลลัพธ์สุขภาพที่ดี โดยเริ่มจากบริการสุขาพในโรงพยาบาล และบูรณาการเข้ากับแนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพ ซึ่งในอนาคตอาจจะขยายขอบเขตกว้างขวางกว่าบริการสุขภาพในโรงพยาบาล
เป้าหมายของ TOA มุ่งสู่ผลการดำเนินการที่เป็นเลิศ • เกณฑ์รางวัลคุณภาพห่งชาติ จัดทำขึ้นเพื่อช่วยให้องค์กรใช้แนวทางที่บูรณาการในการจัดการผลการดำเนินการ ซึ่งจะให้ผลลัพธ์ในเรื่อง - การส่งมอบคุณค่าที่ดีขึ้เสมอให้แก่ลูกค้า และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซึ่งจะส่งผลต่อความยั่งยืนขององค์กร - การปรับปรุงประสิทธิผลและขีดความสามารถขององค์กรโดยรวม - การเรียนรู้ขององค์กร และของแต่ละบุคคล
หลักสำคัญในการบริหารโรงพยาบาลสู่ความเป็นเลิศหลักสำคัญในการบริหารโรงพยาบาลสู่ความเป็นเลิศ • ทิศทางนำ : visionary leadership, systems perspective, agility • ผู้รับผล : Patients & customer focus, focus on health, community responsibility • คนทำงาน : value on staff, individual commitment, teamwork, ethic & professional standard • การพัฒนา : creativity & innovation, management by fact,continuous process improvement, focus on result, evidence-based approach • พาเรียนรู้ : learning, empowerment
ความเป็นเลิศส่วนบุคคลความเป็นเลิศส่วนบุคคล • เป็นมากกว่าความสามารถ หรือความเชี่ยวชาญ แต่มีพื้นฐานมาจาก การมีจิตใจแห่งการสร้างสรรค์ในสิ่งที่ดำเนินอยู่ • ทักษะ personal masteryก่อเกิดแรงจูงใจส่วนบุคคล ทำให้บุคคลมีความมุ่งมั่น ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และความรับผิดชอบสูง โดยเป็นลักษณะของการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง ก่อเกิดการเปลี่ยนแปลงและไม่ใช่ reactive mindset • วิสัยทัศน์ส่วนบุคคล เกิดมาจากภายใน มิใช่จากการเปรียบเทียบกับผู้อื่น • การฝึกฝนโดยการใช้จิตใต้สำนีก จินตนาการและภาพในใจ (Imaginary and visualization)
การกำหนดมาตรฐานบริการพยาบาลสู่ความเป็นเลิศการกำหนดมาตรฐานบริการพยาบาลสู่ความเป็นเลิศ วัตถุประสงค์ เพื่อให้ฝ่ายการพยาบาล / งานการพยาบาล / หอผู้ป่วย ใช้เป็นแนวทางในการจัด / ปรับปรุงระบบบริการพยาบาล เตรียมความพร้อมรองรับการพัฒนาด้านการรักษาของศูนย์ความเป็นเลิศ เพื่อให้ฝ่ายการพยาบาล / งานการพยาบาล / หอผู้ป่วย ในศูนย์ความเป็นเลิศ มีเกณฑ์ที่ชัดเจน ในการประเมินตนเองและพัฒนาส่วนขาด / ข้อจำกัด ให้มีประสิทธิภาพสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
ความเป็นเลิศทางการพยาบาล (Excellence in nursing services) หมายถึง กระบวนการปรับปรุงการปฏิบัติการพยาบาล ให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด เป็นการปฏิบัติงานที่ได้มาตรฐานขึ้นไป ไร้ข้อผิดพลาด มีคุณภาพสูง คุ้มค่าคุ้มทุน ใช้ความรู้โดยใช้งานวิจัยเป็นฐานในการตัดสินใจการปฏิบัติการพยาบาล ส่งผลให้ เพิ่มคุณภาพชีวิตและผู้รับบริการมีความพึงพอใจ
ความเป็นเลิศของการปฏิบัติ (Best practice) • เป็นกระบวนการเพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงานในสถาบัน หรือองค์กร • เกี่ยวข้องกับคุณภาพ
ความเป็นเลิศของการปฏิบัติ (Best practice) • คือ วิธีการปฏิบัติที่ทำให้องค์กรสู่ความสำเร็จ หรือวิธีการปฏิบัติสู่ความเป็นเลิศ ที่มาของ Best practice • ต้องมาจากการปฏิบัติ • ผุ้ปฏิบัติเป็นผู้ที่มีความรู้ และเป็นผู้ที่สร้างความรู้
ความเป็นเลิศของการปฏิบัติ (Best practice) Best practice = Good practice = แนวปฏิบัติที่เหนือชั้น (โดยผู้เชี่ยวชาญ หรือผู้ตรวจประเมินยอมรับว่าเป็นเลิศ) การเป็น Best practice ดูได้จาก • ฐานข้อมูลทั่วไป • จากการเปรียบเทียบ (Benchmarking) ทั้งภายในและภายนอกองค์กร Benchmarking = มาตรฐานความเป็นเลิศ Best practice= แนวปฏิบัติที่ดีที่สุด
ความเป็นเลิศของการปฏิบัติ (Best practice) มีเกณฑ์ ดังนี้ • มีผลการดำเนินที่เป็นเลิศอย่างต่อเนื่อง • เป็นวิธีการใหม่ ๆ หรือนวัตกรรมในการใช้ทรัพยากร เช่น บุคคล หรือ เทคโนโลยี • ได้รับการยอมรับจากบุคคล / องค์กรที่เชื่อถือได้ (ผู้เชี่ยวชาญการตรวจประเมิน)
การดำเนินการสู่ความเป็นเลิศของการปฏิบัติ (Best practice) ประเมินตนเอง จากตัวชี้วัด เราอยู่ที่ไหน ใครเก่งที่สุด ศึกษา ค้นคว้า เขาทำอย่างไร ศึกษา Best practice นำ Best practice มาประยุกต์ใช้ “Adapt not Adopt” ทำอย่างไรให้ดีกว่าเขา
ความเป็นเลิศของการปฏิบัติ (Best practice) • ทำงานอย่างฉลาดมากขึ้น (Doing things smarter) • การปฏิบัติเพื่อสู่การกระทำที่ดีขึ้น • การปฏิบัติเพื่อสู่คุณภาพ • การปฏิบัติโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ - ความรู้จากแหล่งต่าง ๆ ที่สามารถตรวจสอบได้และน่าเชื่อถือ (Higgs & Jones, 2000) - บูรณาการหลักฐานที่ดีที่สุดที่มีอยู่ - ความเชี่ยวชาญทางการพยาบาล (Nursing expertise) - การให้คุณค่าและความชอบของแต่ละบุคคล ครอบครัวและชุมชนที่ใช้ บริการ
ศูนย์ตติยภูมิที่ใช้เทคโนโลยี่ขั้นสูง(Excellent center) โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ศักยภาพ ให้บริการได้ทุกประเภท และมีภาระงานสูง ได้แก่ ร.พ. ศิริราช, ร.พ. จุฬาลงกรณ์, ร.พ. มหาราชนครเชียงใหม่ ศูนย์โรคหัวใจตติยภูมิขั้นสูง(Super Tertiary Cardiac Centerหรือ Comprehensive Cardiac center)
ศูนย์ตติยภูมิที่ใช้เทคโนโลยี่ขั้นสูง(Excellent center) โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ศูนย์อุบัติเหตุ ระดับ 1(Trauma center level 1) • มีขีดความสามารถในการดูแลผู้ป่วยได้ทุกระบบ (Comprehensive care) • ได้รับการรับรองให้เป็นสถาบันฝึกอบรมแพทย์เฉพาะทางในสาขาที่ สำคัญที่เกี่ยวข้องทุกสาขา • มีขีดความสามารถในการเป็นแม่ข่ายหลักในระบบการควบคุม อุบัติเหตุในภูมิภาคที่รับผิดชอบได้ ศักยภาพ; ระดับขีดความสามารถสูงกว่าระดับตติยภูมิ
ศูนย์ตติยภูมิที่ใช้เทคโนโลยี่ขั้นสูง(Excellent center) โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ศูนย์มะเร็ง(Comprehensive Cancer Center) • Super-tertiary care • Referral center • Research and development center • Training center • Reference center • National body and policy advocacy • Network ศักยภาพ ระดับ excellence
ศูนย์ตติยภูมิที่ใช้เทคโนโลยี่ขั้นสูง(Excellent center) โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ • ศูนย์สมอง (Stroke center) • ศูนย์โรคไต (Renal center) • ศูนย์สุขภาพปอด (Lung health canter)
การพัฒนาศูนย์ตติยภูมิเฉพาะทางการพัฒนาศูนย์ตติยภูมิเฉพาะทาง หน้าที่หลักของศูนย์ฯเฉพาะทางเป็นศูนย์กลาง 3 ด้าน เป้าหมายสำคัญ 1. การจัดการบริการสุขภาพแบบครบวงจรและต่อเนื่อง คุณภาพการดูแล บริการที่เป็นเลิศ ความคุ้มค่า 2. การถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีในการรักษาพยาบาล 3. การศึกษา ค้นคว้า วิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ในการพัฒนาคุณภาพ เป้าหมายสำคัญและหน้าที่หลักของExcellence Center
เกณฑ์คุณภาพการปฏิบัติการพยาบาลที่เป็นเลิศ: มุมมองเชิงระบบ * * จาก Health care criteria for performance excellence ใน Baldrige National Quality Program : Malcom Baldrige National Quality Award และ TQA * *
การนำองค์กรอย่างมีวิสัยทัศน์การนำองค์กรอย่างมีวิสัยทัศน์ การปฏิบัติที่เป็นเลิศ ผลลัพธ์ที่สมดุล การสร้างความสัมพันธ์กับผู้ใช้บริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและความพึงพอใจ ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ ปัจจัยความสำเร็จ ด้านงบประมาณ การเงินและตลาด การจัดกระบวนการ -นวัตกรรม การออกแบบ การผลิตและการบริการอย่างมีประสิทธิภาพ -กระบวนการสนับสนุนธุรกิจการดำเนินการ(งานบัญชี,จัดซื้อ,ซ่อมบำรุง,งานบุคคล) -การจัดการวางแผนด้านปฏิบัติการการเงินและภาวะฉุกเฉิน Financial การจัดทำกลยุทธ์ ด้านผู้ใช้บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การนำองค์กร -วิสัยทัศน์ -พันธกิจ -ค่านิยม การจัดทำแผนปฏิบัติการ Customer ด้านการเรียนรู้ของผู้ใช้บริการ Internal Process KPI ด้านประสิทธิผลกระบวนการ ธรรมมาภิบาล ความรับผิดชอบต่อสังคม ความต้องการของผู้ใช้บริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การมุ่งเน้นบุคลากร -ระบบงาน(การจัดและบริหารงาน,การจ้าง,ความก้าวหน้าในงาน) -การเรียนรู้และสร้างแรงจูงใจ -ความผาสุกและความพึงพอใจ Learning & Growth ด้านบุคลากร ด้านการนำองค์กร การจัดการข้อมูล การวัด วิเคราะห์ ทบทวนผลดำเนินการและการจัดการความรู้ กระบวนการจัดการตามแนวทางรางวัลแห่งชาติ
Nurse outcome Hospital Priorities/Policy -Nurse satisfaction -Nurse retention -Nurse safety Nurse Work environment -Resource adequacy -Administrative support -Nurse-Physician relation Process of care Patient outcome -Mortality rate -Utilization of ICU days -Patient satisfaction -RN: Patient ratio -Skill mix Alken,2002 Conceptual Model: Nurse work environment, Nurse staffing, and outcome
การสร้างความรู้ การใช้ความรู้ CQI Best Practice กระบวนการทำงาน Benchmarking
พัฒนาความรู้/ทักษะความชำนาญเฉพาะทางพัฒนาความรู้/ทักษะความชำนาญเฉพาะทาง ปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้ข้อมูลเป็นพื้นฐาน ความรู้เกี่ยวกับโรค พยาบาล ปัญหา/สภาวะผู้ป่วย ใช้ทรัพยากรคุ้มค่า สร้างองค์ความรู้/นวัตกรรม/CQI การจัดการความรู้ Team สุขภาพ คุณภาพบริการพยาบาล (การดำเนินกิจกรรมพยาบาล) -แพทย์ -พยาบาล -โภชนาการ -สังคมสงเคราะห์ -เภสัชกร -เทคนิคการแพทย์ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วย สามารถดูแลตนเอง คุณภาพชีวิต
กระบวนการ พัฒนา EBP มี 5 ขั้นตอน 1. การประเมินสิ่งที่ต้องปรับปรุง 2. สืบค้นงานวิจัย :Internet, hand, contacting researcher 3. สังเคราะห์หลักฐานที่ดีที่สุด : อ่านงานวิจัยทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับ EBP 4. การนำ EBP ที่สร้างขึ้นไปทดลองใช้และประเมินผล : Expected outcome, process evaluation, achieve outcome 5. การนำ EBP ที่มีการปรับปรุงไปใช้ในการปฏิบัติงาน ในชีวิตประจำวันซึ่งต้องการการสนับสนุนจากผู้บริหาร ของหน่วยงานความร่วมมือจากผู้ปฏิบัติงาน&การเอื้อแหล่งประโยชน์ Audit cycle การนำผลการวิจัยไปใช้ในการปฏิบัติ
กระบวนการพัฒนาการพยาบาลสู่ความเป็นเลิศกระบวนการพัฒนาการพยาบาลสู่ความเป็นเลิศ • จัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาการพยาบาลสู่ความเป็นเลิศ • กำหนดเกณฑ์การพิจารณาและวิธีการประเมินผลความเป็น Good practice • กระตุ้นให้หน่วยงานค้นหา Good practiceเพื่อพัฒนาสู่ความเป็นเลิศตามเกณฑ์ที่กำหนด • กำหนดผู้รับผิดชอบและพิจารณาทีมจากงานการพยาบาลต่างๆ • จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการพัฒนาบริการที่ดีที่สุดในหน่วยงานและเครือข่ายภายใน • Copแต่ละทีมประชุมเพื่อกำหนดwork flow, nursing care, care map, indicator,ร่วมกับการใช้ EBP
กระบวนการพัฒนาการพยาบาลสู่ความเป็นเลิศ (ต่อ)กระบวนการพัฒนาการพยาบาลสู่ความเป็นเลิศ (ต่อ) • จัดเวทีให้แต่ละกลุ่มเสนอผลการดำเนินงาน • จัดประชุมวิชาการเพื่อ sharing • กำหนดแนวทาง Benchmarking - จัด Internal benchmarking - สร้างเครือข่ายความร่วมมือ - จัดExternal benchmarking
การดำเนินการ • จัดทีม (คณะทำงาน)การดูแลผู้ป่วยเฉพาะโรค • จัดทำ Work flow, Care Map • จัดทำมาตรฐานการพยาบาล และแนวปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยเฉพาะ • พัฒนาการวางแผนการจำหน่ายและการดูแลต่อเนื่อง • ทำการศึกษาวิจัย และใช้ผลการวิจัย
เกณฑ์ประเมินความเป็นเลิศด้านปฏิบัติการพยาบาลเกณฑ์ประเมินความเป็นเลิศด้านปฏิบัติการพยาบาล • มีแผนงาน / โครงการ • มีระเบียบ / แนวปฏิบัติ • มีมาตรฐานการพยาบาล • มี Work flow • มี Care Map • มีแบบประเมินผู้ป่วย • มี Discharge planning • มีงานวิจัย • มีการใช้ผลการวิจัย • มีนวัตกรรม • มีการกำหนดตัวชี้วัด และมีการติดตามผล ผลลัพธ์ที่ได้สูงกว่า หรือเทียบได้กับระดับประเทศ (Outperforms National Benchmarking)
แผนภูมิ CNPG Scientific evidence Practice Guideline Consensus Care map Multidisciplinaryteam
Driver for nursing excellence • Quality improvement • Knowledge management • Indicators • Routine to research (R to R)
ขอบเขตการพยาบาลของศูนย์ตติยภูมิเฉพาะทางระดับ Excellence(ส่วนของคณะทำงาน) • ด้านบริหารระบบบริการพยาบาล 1.1. การสร้างเสริมสุขภาพ 1.2. การพยาบาลเฉพาะทาง 1.3. การดูแลเพื่อบรรเทาอาการ 1.4. การดูแลแบบประคับประคอง / การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 1.5. การเผยแพร่ข้อมูล ความรู้ใหม่แก่ประชาชนและสังคม
ขอบเขตการพยาบาลของศูนย์ตติยภูมิเฉพาะทางระดับ Excellence (ต่อ) 2. การบริการวิชาการ 2.1. การวิจัยทางการพยาบาล 2.1.1. พัฒนาคุณภาพในการปฏิบัติ - การปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ - การแก้ปัญหา และการตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการและประชาชน - การพัฒนาการปฏิบัติงานประจำเป็นงานวิจัย 2.1.2. วิจัยและพัฒนา 2.1.3. พัฒนาการปฏิบัติงานบนพื้นฐานงานประจำ 2.1..4. เป็นศูนย์กลางค้นคว้า วิจัย เพื่อการพัฒนา
ขอบเขตการพยาบาลของศูนย์ตติยภูมิเฉพาะทางระดับ Excellence (ต่อ) 2.2. การถ่ายทอดเทคโนโลยี่แก่บุคลากรพยาบาล - การสอน การฝึกอบรม หลักสูตรระยะสั้น / ระยะยาว - การจัดการคุณภาพระบบสารสนเทศทางการพยาบาล 2.3. การจัดการคุณภาพการพยาบาล