130 likes | 464 Views
Towards the AEC: Services and Skilled Labours ASEAN ECONOMIC COMMUNITY. Association of Southeast Asian Nations. การสัมมนาเชิงวิชาการเรื่อง “ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : ก้าวใหม่ที่ท้าทาย หรือ ความฝันที่ไกลเกินจริง ” กลุ่มที่ 2 การเปิดตลาดการค้าบริการและการเคลื่อนย้ายแรงงาน
E N D
Towards the AEC: Services and Skilled LaboursASEAN ECONOMIC COMMUNITY Association of Southeast Asian Nations การสัมมนาเชิงวิชาการเรื่อง “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน: ก้าวใหม่ที่ท้าทาย หรือ ความฝันที่ไกลเกินจริง” กลุ่มที่ 2 การเปิดตลาดการค้าบริการและการเคลื่อนย้ายแรงงาน ณ โรงแรมโซฟิเทลเซ็นทรัล พลาซา กรุงเทพฯ วันพุธที่ 20 มิถุนายน 2550 จัดโดย: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
10 Nations of ASEAN • Brunei Darussalam • Cambodia • Indonesia • Lao PDR • Malaysia • Myanmar • Philippines • Singapore • Thailand • Vietnam
ASEAN Economic Community AEC Single Market and Production base characteristic objective To create a stable, prosperous and highly competitive ASEAN economic region as outlined in Bali Concord II Free flow of goods services, investment, and skilled labour Freer flow of capital
เป้าหมายสุดท้ายของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของอาเซียน:เป้าหมายสุดท้ายของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของอาเซียน: • จะรวมตัวเป็นประชาคมเศรษฐกิจภายในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) • จะเป็นตลาดที่มีฐานการผลิตร่วมกัน (Single market and single production base) โดยจะให้มีการเคลื่อนย้ายอย่างเสรีทางด้าน: • สินค้า (Goods) • บริการ (Services) • การลงทุน (Investment) • เงินทุน (Capital) • แรงงานมีฝีมือ (Skilled labours)
การบริการสาขาต่าง ๆ ที่มีการเจรจา • บริการธุรกิจเช่น • วิชาชีพ เช่น ทนายความ นักบัญชี แพทย์ พยาบาล • โฆษณา ซ่อมบำรุง บริการด้านการผลิต • การสื่อสาร • โทรคมนาคม • คอมพิวเตอร์ • โสตทัศน์ ภาพยนตร์ • ก่อสร้าง • จัดจำหน่าย • ค้าส่ง ค้าปลีก • นายหน้า แฟรนไชส์ • การศึกษา เช่น • มหาวิทยาลัย • การศึกษานอกหลักสูตร • บริการสิ่งแวดล้อม • การเงิน • ธนาคาร ประกันภัย หลักทรัพย์ • บริการด้านสุขภาพและสังคม • โรงพยาบาล บริการสังคม • บริการด้านท่องเที่ยว • โรงแรม ร้านอาหาร • บริษัทนำเที่ยว มัคคุเทศก์ • การกีฬา การบันเทิง • การขนส่ง • ทางอากาศ ทางถนน ทางรถไฟ ขนส่งทางทะเล ขนส่งทางท่อ และอื่น ๆ • ลอจิสติกส์ • การบริการอื่น ๆ เช่น • ความงาม
ประเทศ A ประเทศ B รูปแบบการค้าบริการ: Mode 1: การให้บริการข้ามพรมแดน Mode 2: การเดินทางไปบริโภคในต่างประเทศ Mode 3: การจัดตั้งธุรกิจ Mode 4: การให้บริการโดยบุคคลธรรมดา
การให้บริการเกิดขึ้นได้อย่างไรบ้างการให้บริการเกิดขึ้นได้อย่างไรบ้าง • บริการข้ามพรมแดน • เช่น การบริการผ่าน internet โทรศัพท์ทางไกล การบินระหว่างประเทศ นักเรียนไทยออกไปเรียนหนังสือต่างประเทศ นักท่องเที่ยวต่างชาติเข้ามาเที่ยวในไทย • ต่างชาติเข้ามาเปิดธุรกิจบริการในประเทศ • เช่น ธนาคารต่างชาติเข้ามาเปิดสาขาในไทย คนไทยออกไปตั้งบริษัทก่อสร้างหรือทำร้านอาหารในต่างประเทศ • คนต่างชาติเป็นผู้ให้บริการ • เช่น คนไทยออกไปเป็นพ่อครัวแม่ครัว ครูต่างชาติเข้ามาสอนภาษาอังกฤษ ภาษาจีน
แนวทางการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ: ด้านบริการ บริการสาขาเร่งรัด: คอมพิวเตอร์,โทรคมนาคม, ธุรกิจท่องเที่ยว,สุขภาพ,และ โลจิสติกส์ • ไม่มีข้อจำกัดการให้บริการข้ามพรมแดน • ทยอยให้ต่างชาติถือหุ้นได้ถึง 70% • ให้คนต่างชาติเข้ามาทำงานได้มากขึ้น AEC: • ไม่มีข้อจำกัดการให้บริการข้ามพรมแดน • ทยอยให้ต่างชาติถือหุ้นได้ถึง 70% • ให้คนต่างชาติเข้ามาทำงานได้มากขึ้น AEC: บริการสาขาอื่นๆ: วิชาชีพ, ก่อสร้าง, จัดจำหน่าย, การศึกษา, สิ่งแวดล้อม, ขนส่ง, และอื่นๆ ทั้งหมด
แนวทางการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ: ด้านบุคลากรอาเซียน • จัดทำ MRA สำหรับ วิชาชีพที่สำคัญภายใน ปี 2008 บุคลากร: ได้แก่ Short term visits และ Skilled Labours AEC: • ยกเว้นวีซ่าสำหรับ Short term visits • อำนวยความสะดวกอื่นๆ ด้านการเคลื่อนย้าย Skilled Labours • พัฒนาหลักสูตรและมาตรฐานด้านแรงงานมีฝีมือร่วมกัน
สิ่งที่จะเกิดขึ้นเมื่อสมาชิกอาเซียนเปิดตลาดจนบรรลุเป้าหมายสิ่งที่จะเกิดขึ้นเมื่อสมาชิกอาเซียนเปิดตลาดจนบรรลุเป้าหมาย • ผู้ให้บริการอาเซียนสามารถให้บริการข้ามพรมแดนเข้ามาในประเทศอาเซียนต่างๆได้โดยไม่มีข้อจำกัด แต่ทั้งนี้ บางสาขาบริการที่จำเป็นต้องมีเงื่อนไขด้านกฎระเบียบบางประการก็อาจสามารถสงวนไว้ได้บ้าง • นักลงทุนอาเซียนสามารถเข้ามาจัดตั้งธุรกิจในประเทศอาเซียนทุกประเทศโดยถือหุ้นข้างมากได้ โดยไทยจะต้องทยอยเปิดให้นักลงทุนอาเซียนถือหุ้นในธุรกิจบริการต่างๆได้ถึง 70% ในปี 2010 สำหรับ Priority sectorsและ ปี 2015 สำหรับ Other sectorsทั้งนี้ • สมาชิกยังสามารถใช้กฎระเบียบในการกำกับดูแลธุรกิจบริการได้อยู่ โดยไม่เลือกปฏิบัติว่าเป็นธุรกิจของต่างชาติหรือของคนไทย • อาจขอสงวน (ในจำนวนที่จำกัด) ไม่เปิดตลาดในบางสาขา/กิจกรรมบริการตามแนวทางที่อาเซียนกำหนดได้ • บุคลากรอาเซียนที่มีฝีมือประเภทต่างๆ สามารถเข้ามาทำงานและพำนักได้สะดวกมากขึ้น • นักวิชาชีพอาเซียนอาจเข้ามาทำงานในไทยได้สะดวกขึ้นโดยผ่านความตกลง MRA
สรุปความคืบหน้าการดำเนินงานที่สำคัญสรุปความคืบหน้าการดำเนินงานที่สำคัญ • ข้อผูกพันเปิดตลาดด้านบริการของอาเซียน • ถึงปัจจุบัน สมาชิกอาเซียนแต่ละประเทศได้จัดทำข้อผูกพันมาแล้ว 5 ชุด ซึ่งชุดที่ 5 ล่าสุดเพิ่งลงนามเมื่อเดือนธันวาคม 2549 • อย่างไรก็ตาม ขณะนี้ ประเทศสมาชิกจำเป็นต้องปรับปรุงข้อผูกพันชุดที่ 5 อีกครั้งเพื่อให้สอดคล้องกับเป้าหมายตามที่ตกลง และเสนอให้รัฐมนตรีอาเซียนรับรองภายในปี 2007 นี้ • ส่วนข้อผูกพันชุดต่อๆ ไปจะยื่นในแต่ละรอบการเจรจาจนบรรลุเป้าหมายเปิดตลาดในปี 2010 – 2015 • การจัดทำ MRA สำหรับวิชาชีพที่สำคัญ • จัดทำ MRA เพื่ออำนวยความสะดวกในการยอมรับคุณสมบัติของนักวิชาชีพที่สำคัญร่วมกัน แต่ทั้งนี้ การเข้าเมืองและการทำงานยังต้องขึ้นอยู่กับกฎระเบียบของแต่ละประเทศสมาชิก • ขณะนี้ได้มีการลงนาม MRA สาขาวิศวกรรม (ปี 2005) และ MRA สาขาพยาบาล (ปี 2006) แล้ว • ส่วน MRA สาขาสถาปนิก การสำรวจ บัญชี แพทย์ และทันตแพทย์ กำลังอยู่ระหว่างจัดทำ
สำนักเจรจาการค้าบริการและการลงทุนสำนักเจรจาการค้าบริการและการลงทุน • โทร. 02-547-5623 • www.dtn.moc.go.th • www.thaifta.com
Bangkok Declaration, Bangkok, 8 August 1967 Thank You Bali Concord II, Bali Indonesia, 7 October 2003 ASEAN Vision 2020, Malaysia, 15 December 1997