980 likes | 1.3k Views
AEC. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN ECONOMIC COMMUNITY. 2. สัญลักษณ์อาเซียน. สีน้ำเงิน สันติภาพและความมั่นคง สีแดง ความกล้าหาญและก้าวหน้า สีเหลือง ความเจริญรุ่งเรือง สีขาว ความบริสุทธิ์. ต้นข้าว 10 ต้น คือ 10 ประเทศรวมกันเพื่อมิตรภาพและความเป็นน้ำหนึ่งในเดียว
E N D
AEC. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN ECONOMIC COMMUNITY
2 สัญลักษณ์อาเซียน สีน้ำเงิน สันติภาพและความมั่นคง สีแดง ความกล้าหาญและก้าวหน้า สีเหลือง ความเจริญรุ่งเรือง สีขาว ความบริสุทธิ์ ต้นข้าว 10 ต้น คือ 10 ประเทศรวมกันเพื่อมิตรภาพและความเป็นน้ำหนึ่งในเดียว วงกลม แสดงถึงความเป็นเอกภาพ
3 Sub-Regionalism (ลัทธิภูมิภาคนิยม/การรวมกลุ่มทางด้านเศรษฐกิจ) - สามเหลี่ยมมรกต (ไทย ลาว กัมพูชา) - สามเหลี่ยมเศรษฐกิจ (ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย) - สี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ (ไทย พม่า จีน ลาว) - ห้าเหลี่ยมเศรษฐกิจ (ไทย พม่า อินเดีย บังคลาเทศ ศรีลังกา) - หกเหลี่ยมเศรษฐกิจ (ไทย พม่า จีน ลาว กัมพูชา เวียดนาม)
4 ASEAN สมาคมประชาชาติอาเซียน Association of South East Asian Nation 10 ประเทศ ไทย มาลาเซียสิงคโปร์ บรูไน ฟิลิปปินส์อินโดนีเซียพม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม
5 สามเสาหลักของ ASEAN กฎบัตรอาเซียน 1. การเมือง ความมั่นคง (Political Security) 2. สังคม วัฒนธรรม (Socio Cultural) 3. เศรษฐกิจ (Economy)
6 คำขวัญ (Motto) One Vision หนึ่งวิสัยทัศน์ One Identity หนึ่งอัตลักษณ์ One Community หนึ่งชุมชน
7 ASEAN+3/EAFTA (East Asia Free Trade Agreement) China Japan Korea ASEAN+6/CEFEA (Comprehensive Economic Partnership East Asia ) China JapanKorea Australia New Zealand India
8 Asia Cooperation Dialogue = (ASEAN + จีน ญี่ปุ่น เกาหลี ปากีสถาน กาตาร์ บาเรนห์) BIMSTEC บังคลาเทศ อินเดีย เมียนมาร์ ศรีลังกา ไทย Economic Community)
9 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(ASEAN ECONOMIC COMMUNITY) Blueprint AEC
9.1 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(ASEAN ECONOMIC COMMUNITY) Blueprint AEC
9.2 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(ASEAN ECONOMIC COMMUNITY) Blueprint AEC
9.3 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(ASEAN ECONOMIC COMMUNITY) Blueprint AEC
9.4 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(ASEAN ECONOMIC COMMUNITY) Blueprint AEC
10 อาเซียนสามารถถือหุ้นได้ถึง 70% ในธุรกิจบริการในอาเซียน สาขาเร่งรัดการรวมกลุ่ม E-ASEAN (โทรคมนาคมคอมพิวเตอร์)สุขภาพ/ท่องเที่ยว/การบิน ปี 2549 (2006) ปี 2551 (2008) ปี 2553 (2010) ปี 2556 (2013) ปี 2558 (2015) 70% 49% 51% 70% โลจิสติกส์ 49% 51% สาขาอื่นๆ 70% 49% 51% เป้าหมายการเปิดเสรีบริการ = 128 สาขาย่อย
11 ภาษีสินค้า/อุปสรรคนำเข้าจะหมดไป กลายเป็นตลาดอาเซียน
12 อาเซียนจะกลายเป็นศูนย์กลางการลงทุนทั่วโลก NT – MFN การลงทุนในอาเซียนจะเปิดเสรีและโปร่งใสมากขึ้น FLEXIBILITY หากยังไม่พร้อมเปิดเสรี สามารถทำข้อสงวนไว้ได้ Portfolio FDI Challenges 1.นโยบายเชิงรุกเพื่อดึงดูดเงินลงทุนจากต่างประเทศ ดดยสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการลงทุน 2.นโยบายสนับสนุนให้มีการลงทุนในต่างประเทศมากขึ้น บริการ เกี่ยวเนื่อง เกษตร ประมง เหมืองแร่ ป่าไม้ การผลิต
13 • แรงงานฝีมือเคลื่อนย้ายได้โดยเสรี • แก้ปัญหาขาดแคลนแรงงานฝีมือ • อาจถูกแย่งแรงงานฝีมือถ้าที่อื่นมีสิ่งจูงใจกว่า
14 สิ่งที่จะเกิดขึ้นกับชุมชนท้องถิ่น
16 บริการที่ไทยได้เปรียบ/เสียเปรียบ บริการที่ไทยได้เปรียบ การท่องเที่ยว ภาคบริการที่เกี่ยวกับการ ท่องเที่ยว อาทิ ร้านอาการ และโรงแรม บริการด้านสุขภาพ เช่น โรงพยาบาล บริการสปา นวดแผนไทย บริการที่ไทยเสียเปรียบ สาขาที่มีข้อกังวงว่าจะได้รับผลกระทบ เช่น โลจิสติกส์ โทรคมนาคม สาขาที่ต้องใช้เงินลงทุน และเทคโนโลยีสูง ธุรกิจสถาปนิกขนาดกลางและ ขนาดเล็ก • อุตสาหกรรม Solfwearอันดับ 1 ของ ASEAN • Ex ยานยนต์/Hi-Technologeตั้งฐานการผลิตในประเทศไทย • Bio Technolog/Bio Diversity • สมุนไพร ยา/เครื่องสำอางค์/บำรุงรักษาสุขภาพ
17 ความตกลงยอมรับคุณสมบัติร่วมใน 8 สาขาวิชาชีพของอาเซียน
17.1 เป้าหมายการเปิดเสรีบริการ 128 สาขา Ex. บริการวิชาชีพ บริการกฎหมาย บริการบัญชี และตรวจสอบบัญชี บริการด้านภาษี สถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมผังเมือง / ภูมิสถาปัตยกรรม
17.2 เป้าหมายการเปิดเสรีบริการ 128 สาขา (ต่อ) Ex. วิศวกรรม วิศวกรรมแบบครบวงจร แพทย์และทันตแพทย์ สัตวแพทย์ กายภาพบำบัด พยาบาล ผดุงครรภ์ ปฐมพยาบาล * บริการวิชาชีพอื่นๆ (อยู่ระหว่างการเจรจาขยายประเภทงานบริการในอนาคต)
18 อาเซียนได้รับการอำนวยความสะดวกในการประกอบอาชีพมากขึ้น MAR ไม่ได้เป็นการเปิดตลาด แต่เป็นเพียงการอำนวยความสะดวกในขั้นตอนการขอใบอนุญาตโดยลดขั้นตอนการตรวจสอบ/รับรองวุฒิของการ ศึกษาหรือความรู้ทางวิชาชีพ MRAs ข้อตกลงยอมรับร่วม นักวิชาชีพในอาเซียนสามารถ จดทะเบียนหรือขอใบอนุญาตประกอบวิชาชีพในประเทศอาเซียนอื่นได้ แต่ยังต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบภายในของประเทศนั้นๆ 8. ผู้ประกอบการท่องเที่ยว *ยังเป็นเพียง Framework หรือ หลักการกว้างๆ โดยต้องมีการเจรจาในรายละเอียดต่อไป
19 ภารกิจเร่งด่วน • การเตรียมความพร้อมภายในประเทศ • -เพื่อผลักดันการมีบทบาทนำในอาเซียน • ให้ไทยได้รับประโยชน์สูงสุดและลดผลกระทบ การเตรียมความพร้อม ส่วนราชการ ผลักดันยุทธศาสตร์ความร่วมมือ ในกรอบอาเซียนตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 การสร้างความตระหนักรู้และเตรียมความพร้อม การดำเนินการอย่างเข้มแข้งเพื่อสร้างประชาคมและในการมีปฏิสัมพันธ์กับภายนอก ปรับโครงสร้างส่วนราชการเพื่อรองรับประชาคมอาเซียน Incentives & Alignment ฝึกอบรมข้าราชการ/บุคลากรของรัฐให้มีความพร้อม ในภาคการศึกษา ในภาค ประชาชน
20 ผลกระทบจากการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียน ผลทางสังคม ปัญหาด้านสาธารณสุขที่อาจเกิดจากการเคลื่อนย้ายแรงงานและนักท่องเที่ยวโดยเสรี การสร้างอัตลักษณ์ร่วมกันของอาเซียน และการสร้างความรู้สึกร่วมของประชาชนให้ตระหนักถึงหน้าที่ในการเป็นประชากรของอาเซียน การช่วยเหลือเมื่อมีภัยพิบัติ Responsibility to proteet ; อำนาจอธิปไตย การคุ้มครองแรงงานต่างด้าวของประเทศอาเซียน การช่วยเหลือด้านกงสุลแก่ประชาชนอาเซียนในประเทศที่ 3
21 จุดเปลี่ยนครั้งสำคัญ ของประเทศไทย ใน 1 มกราคม 2558
22 วัฒนธรรมที่แตกต่างต้องมาอยู่ร่วมกัน วัฒนธรรมขงจื้อ – เวียดนาม,สิงคโปร์ วัฒนธรรมพุทธ – ไทย,พม่า,ลาว,กัมพูชา วัฒนธรรมอิสลาม – มาเลเซีย,อินโดนีเซีย,บรูไน วัฒนธรรมคริสต์ - ฟิลิปปินส์
23 ผลกระทบประเทศไทย ; เปิดแรงงานเสรีอาเซียน 58 • การไหลบ่าของแรงงานที่เข้ามาแข่งขัน • แรงงานไทยจะขาดแคลนมากยิ่งขึ้น • สมองไหลไปทำงานในต่างประเทศ • ลาว พม่า กัมพูชา จีนและอินเดียจะเข้ามามากยิ่งขึ้น
24 สำคัญอย่างไรกับคนไทย • ข้อตกลงทุกข้อนั้น • ทุกประเทศต้องปฏิบัติตามทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง • ประเทศใดในอาเซียนปฏิบัติไม่ได้ตามข้อตกลง ต้องยอมรับและสละสิทธิ์นั้น
25 อันตัวเรานี้ จะต้องเตรียมอย่างไร
26 การเปลี่ยนแปลง: ถึงเวลามันต้องเปลี่ยน ถ้าคุณไม่เป็นผู้เปลี่ยน ...... คุณก็จะถูกเปลี่ยน ถ้าคุณไม่ต้องการไปข้างหน้า.... คุณก็จะถูกทอดทิ้งอยู่ข้างหลัง ถ้าคุณยังไม่เปลี่ยนวิธีคิด ...... ชีวิตคุณก็จะอยู่กับอดีตตลอดไป
27 1. ต้องเรียนรู้และใช้ภาษา Eng ให้คล่อง สื่อสารได้ ( Working Language ) 2. ต้องเรียนรู้และสื่อสารภาษาประเทศเพื่อนบ้านได้ Ex. ภาษาบาซา พม่า เวียดนาม 3. ยอมรับ Change (การเปลี่ยนแปลง)
28 การเตรียมตัวของภาคราชการโดยรวม ภาษาอังกฤษจะเป็นภาษาทำงาน (Working Language) ของอาเซียนในอนาคตจะมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างประชาชนอาเซียนมากขึ้น รวมทั้งระหว่างระบบราชการ โดยจะมีการพบปะเจรจา และประชุมกันมากขึ้นเพราะความร่วมมือต่างๆ จะเกิดมากขึ้นในทุกมิติ ดังนั้น สิ่งที่ราชการไทยต้องรีบปรับตัวอย่างรวดเร็วก็คือ ทักษะภาษาอังกฤษ
29 หนี้สาธารณะ : GDP • กองทุนฟื้นฟูสถาบันการเงิน 58 แห่ง 1.14 ล้านล้านบาท • ออก พรก. การโอนหนี้กองทุนฟื้นฟูฯ ธนาคารแห่งประเทศไทย (ชำระปีละ 6 หมื่นล้าน) หนี้สาธารณะ = 5.59 -1.14 = 4.45 ล้านล้านบาท
30 Thailand หนี้ x100 GDP หนี้ = 4.45 ล้านล้านบาท GDP = 10 = 4.45x100 10 = 44.5% (ข้อมูล ณ กพ. 55) ไม่รวมงบประมาณขาดดุล ปี 2556 อีก 3 แสนล้าน
31 PIIGS โปรตุเกส อิตาลี ไอร์แลนด์ กรีซ สเปน 86% 100% 100 % 120% 66% (หนี้ : GPD) BRIC บราซิล รัสเซีย อินเดีย จีน GPD 10% 8 % 10%
32 สงครามเย็น (Cold War) ยุติลง (สหภาพโซเวียตล่มสลาย) สหรัฐอเมริกาประกาศจัดระเบียบใหม่ของโลก (New World Order) 1. ระบอบประชาธิปไตย 2. การค้าเสรี 3. สิทธิมนุษยชน 4. การปกป้องสิ่งแวดล้อม • ผลกระทบที่เกิดขึ้น • เกิดหลายขั้วอำนาจ • การกีดกันทางการค้า • การรวมกลุ่มทางด้านเศรษฐกิจ • (อนุภูมิภาคต่าง / Sub – Regionalism) Ex NAFTA AFTA EU
33 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (2505-2509) (จอมพลสฤษฐ์ ธนรัช) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2510-2514) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (2515-2519) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (2520-2524) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 5 (2525-2529) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (2530-2534) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (2535-2539) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (2540-2544) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (2545-2549) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (2550-2554) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (2555-2559) (AEC – 1 ม.ค. 2558)
34 การปรับตัวของ ประเทศไทยที่สำคัญ คือ การกอบกู้เศรษฐกิจ และการเพิ่มศักยภาพ การแข่งขัน
35 เน้นการพัฒนาท้องถิ่น “คำตอบอยู่ที่หมู่บ้าน” * พึ่งตนเอง * การผลิตเพื่อพาณิชย์ พออยู่พอกิน * การพัฒนาอยู่บนพื้นฐานของวัฒนธรรมชุมชน * ให้ความสำคัญกับภูมิปัญญาท้องถิ่น * จัดตั้งองค์กรชุมชน (ชาวบ้าน) ความเข้มแข็งขององค์กรภาคประชาชน
36 • แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (2550-2554) • สถานการณ์ เศรษฐกิจ และสังคม ซึ่งมีทิศทางการพัฒนาในอนาคตมีความเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลก • กระแสเศรษฐกิจโลกตะวันตก ตกต่ำ (Sun Set) • กระแสเศรษฐกิจโลกตะวันนออก ขาขึ้น (Sun Rise) • (Chin-Dia) • Global Free Flow • สังคมผู้สูงอายุ • Earth Worming ส่งผลใกล้ตัวมากขึ้น • (Ex. ภัยพิบัติที่เกิดขึ้นในทุกภูมิภาคของโลก รวมทั้งประเทศไทย)
37 ความสมดุลย์ของ 3 ทุน และวิสัยทัศน์ 1. ความสมดุลย์ของทุนทางเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากร ธรรมชาติสิ่งแวดล้อม Ec สมดุลย์ So Na/Ev
38 • บริบทใหม่ของโลกปัจจุบันกับการปรับตัวของประเทศไทย • * ทุน เข้า การแข็งตัว/อ่อนตัวของ ออก ค่าเงินบาท • * สินค้าอุตสาหกรรม High End • * ความมั่นคงทางด้านอาหาร (1/7 ของโลก) แต่ต้องระมัดระวังภาวะโลกร้อนที่จะส่งผลกระทบต่อกระบวนการผลิตตามธรรมชาติ • * ความเป็นมิตรต่อธรรมชาติ (ในทุกมิติ)
39 • การเคลื่อนย้ายแรงงาน อันเนื่องจาก Economic Crisis (2540) • * ต้มยำกุ้ง IMFMIYAZAVA • * กิมจิ (Korea) • * Subprime (USA) Hamberger Crisis (2008) • * ประเทศใน EU เข้าไปช้อนซื้อหนี้เสีย หนี้เสียจริงๆ • EURO Zone Crisis (ส่งผลต่อเศรษฐกิจของโลก ทุกภูมิภาค)
40 ASIA อินเดีย จีน เกาหลี ญี่ปุ่น ASEAN EURO ZONE Crisis PIIGS AEC USA. (weak)
41 • ความท้าทาย เศรษฐกิจของโลกตะวันตก กับเศรษฐกิจของประเทศไทย ไทยพึ่งพาการส่งออกถึง 72% • New Trend: Green Industry Green Economy • ASEAN Community (ขณะนั้นยังไม่ได้พูดถึง AEC) • Creative Economy 6 ทุน Ec So Na Hu Money Cul(ภูมิปัญญาท้องถิ่น)
42 • Knowledge Base Economy “เศรษฐกิจฐานความรู้” • Earth Worming Re-Used, Recycle, Reduce Used • ข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Approaches) • ด้านสถาปัตยกรรมของสังคมไทย • ความพอเพียง • ธรรมาภิบาล สังคมเอื้ออาทร • การบูรณาการ • ภูมิปัญญาท้องถิ่น
43 • สัญญาประชาคมใหม่ (รู้ + เคารพ สิทธิ และหน้าที่) • Good Governance/Good Corporate • SCR = Social Corporat Responsibility • เน้นความรับผิดชอบต่อสมาชิกภายในองค์กรเอกชน • มีความรู้/ทักษะอาชีพ จิตสาธารณะ (Public mind)
44 ความมีวินัย (Disciplinad mind) สังเคราะห์ (Synthesiging mind) ความคิดสร้างสรรค์ (Creative mind) ความเคารพนับถือ (Respectful mind) จริยธรรม (Ethical) เครือข่าย สังคมที่มี ความรับผิดชอบร่วมกัน