1 / 78

ความร้อนและอุณหภูมิ (Heat and Temperature )

ความร้อนและอุณหภูมิ (Heat and Temperature ). อุณหภูมิและความร้อน Temperature and heat. “ ความร้อน ” หรือ “ ความเย็น ” ของวัตถุแสดงได้ด้วยปริมาณที่เรียกว่า อุณหภูมิ เครื่องมือที่ใช้บอกอุณหภูมิ อาศัยความสัมพันธ์ของสมบัติทางกายภาพของสสารที่วัดได้กับอุณหภูมิ.

Download Presentation

ความร้อนและอุณหภูมิ (Heat and Temperature )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความร้อนและอุณหภูมิ (Heat and Temperature)

  2. อุณหภูมิและความร้อนTemperature and heat • “ความร้อน” หรือ “ความเย็น” ของวัตถุแสดงได้ด้วยปริมาณที่เรียกว่า อุณหภูมิ • เครื่องมือที่ใช้บอกอุณหภูมิ อาศัยความสัมพันธ์ของสมบัติทางกายภาพของสสารที่วัดได้กับอุณหภูมิ

  3. “ถ้าวัตถุ A และ วัตถุ B ต่างก็อยู่ในสมดุลความร้อนกับวัตถุ C แล้ว วัตถุ A และวัตถุ B จะอยู่ในสมดุลความร้อนซึ่งกันและกันด้วย” • วัตถุสองอันอยู่ในสมดุลความร้อนซึ่งกันและกันก็ต่อเมื่อมีอุณหภูมิเท่ากัน

  4. กฎข้อที่ศูนย์ของเทอร์โมไดนามิกส์ (The Zeroth Law of Thermodynamics)

  5. เทอร์โมมิเตอร์และสเกลที่ใช้บอกอุณหภูมิThermometers and temperature scales • ตัวอย่างของเทอร์โมมิเตอร์ที่นิยมใช้มีโครงสร้างประกอบด้วย ปรอทหรือแอลกอฮอล์บรรจุในหลอดแก้วเล็ก ซึ่งอาศัยการเปลี่ยนแปลงปริมาตรของสสารที่ใช้กับความร้อน (หรือความเย็น) บอกอุณหภูมิ

  6. สเกลที่ใช้บอกอุณหภูมิสเกลที่ใช้บอกอุณหภูมิ ความสัมพันธ์ระหว่างสเกลฟาร์เรนไฮต์กับสเกลเซลเซียส • ช่วงอุณหภูมิถูกกำหนดโดยใช้จุดเยือกแข็งและจุดเดือดของน้ำบริสุทธิ์

  7. ตัวอย่าง ทองมีจุดหลอมเหลวที่ และจุดเดือดที่ • ก. จงเขียนอุณหภูมิเหล่านี้ในหน่วย และ • ข. จงหาผลต่างระหว่างอุณหภูมิที่สองจุดนี้ในหน่วย และ • วิธีทำก) • ข) ผลต่างระหว่างสองจุด

  8. Gas Thermometer Gas thermometer เป็นเทอร์โมมิเตอร์ที่วัดอุณหภูมิโดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงของความดันก๊าซกับอุณหภูมิเมื่อปริมาตรคงที่ Gas Thermometer

  9. อุณหภูมิและความดันสัมพันธ์แบบเชิงเส้นอุณหภูมิและความดันสัมพันธ์แบบเชิงเส้น กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิกับความดัน ที่ได้จาก Gas thermometer

  10. ? เมื่อ gas thermometerอ่านค่าอุณหภูมิได้ -1000Cความดันของก๊าซที่ใช้มีค่าเท่าใด 4000 Pa

  11. กราฟจาก gas thermometerตัดแกนนอนที่ค่าคงที่สำหรับค่าความดันเริ่มต้นต่างๆ

  12. อุณหภูมิในสเกลเคลวินหรือสเกลสัมบูรณ์Kelvin or absolute temperature scale • สเกลเคลวินถูกกำหนดให้สัมพันธ์กับค่าความดันศูนย์ อุณหภูมิ ณ ค่าความดันนี้คือ O K หรือศูนย์องศาสัมบูรณ์ สัมพันธ์กับค่าอุณหภูมิ -273.150C

  13. การขยายตัวตามอุณหภูมิหรือความร้อนThermal expansion โดยทั่วไปสสารเมื่อได้รับความร้อนจะเกิดการขยายตัว เมื่อได้รับความเย็นจะเกิดการหดตัว การขยายตัวมี 3 แบบ คือ • การขยายตัวเชิงเส้น (Linear expansion) • การขยายตัวเชิงพื้นที่ (Area expansion) • การขยายตัวเชิงปริมาตร (Volume expansion)

  14. การขยายตัวเชิงเส้นLinear expansion ความยาวของวัตถุที่เปลี่ยนแปลงแปรตามความยาวเดิมของวัตถุและอุณหภูมิที่เปลี่ยนไป คือ สัมประสิทธิ์การขยายตัวเชิงเส้น (coefficient of linear expansion)

  15. ?อุณหภูมิต้องเพิ่มเป็นเท่าใดจึงทำให้ช่องว่างระหว่างแท่งโลหะทั้งสองปิดพอดี กำหนดให้อุณหภูมิเริ่มต้นเป็น 280C Brass:        19 x 10-6 C-1Aluminum:  23 x 10-6 C-1

  16. ช่องว่างระหว่างรอยต่อของรางรถไฟช่องว่างระหว่างรอยต่อของรางรถไฟ

  17. โครงสร้างบริเวณรอยต่อของผิวสะพานเมื่อคำนึงถึงผลของ thermal expansion

  18. การขยายตัวเชิงพื้นที่Area expansion พื้นที่ของวัตถุที่เปลี่ยนแปลงแปรตามพื้นที่เดิมของวัตถุและอุณหภูมิที่เปลี่ยนไป คือ สัมประสิทธิ์การขยายตัวเชิงพื้นที่ (coefficient of area expansion)

  19. กำหนดให้  เป็นสัมประสิทธิ์การขยายตัวเชิงเส้นของโลหะ และมีการขยายตัวในทุกทิศทางเท่ากัน

  20. การขยายตัวเชิงปริมาตรVolume expansion ปริมาตรของวัตถุที่เปลี่ยนแปลงแปรตามปริมาตรเดิมของวัตถุและอุณหภูมิที่เปลี่ยนไป คือ สัมประสิทธิ์การขยายตัวเชิงปริมาตร (coefficient of volume expansion)

  21. การขยายตัวตามอุณหภูมิสำหรับของแข็งแบบไอโซทรอปิก (isotropic)

  22. ปริมาณความร้อนQuantity of heat • ความร้อนเป็นพลังงานรูปหนึ่งซึ่งถูกส่งผ่านจากระบบที่มีอุณหภูมิสูงไปยังระบบที่อุณหภูมิต่ำ • ปริมาณความร้อน 1 cal คือปริมาณความร้อนที่ใช้ในการทำให้น้ำ 1 กรัม มีอุณหภูมิเพิ่มจาก 14.50C เป็น 15.50C ที่ความดัน 1 atm • Joule equivalence : 1.00 cal = 4.19 J

  23. ความร้อน (Heat); Q T1 >T2 T1 T2 ทิศการไหลของความร้อนQ ระบบ SI หน่วยของความร้อน คือ J (จูล) หน่วยของความร้อน อื่นๆ คือ แคลอรี (cal) 1 cal =4.186 J 1 Btu = 522 ft.lb = 252 cal = 1055 J

  24. ความจุความร้อนจำเพาะSpecific heat capacity ความจุความร้อนจำเพาะ cคือปริมาณความร้อนที่ใช้เพิ่มหรือลดอุณหภูมิของสสารมวลหนึ่งหน่วยไป 1องศา สสารที่มีค่าความจุความร้อนต่ำสามารถเปลี่ยนอุณหภูมิได้ง่ายกว่าสสารที่มีค่าความจุความร้อนสูง

  25. เมื่อเปรียบเทียบระหว่างน้ำ (water)และ เหล็ก (iron) ซึ่งมีมวลเท่ากัน โดยได้รับความร้อนปริมาณเท่ากัน ในช่วงเวลาเท่ากันและมีอุณหภูมิเริ่มต้นเท่ากัน พบว่าเหล็กมีอุณหภูมิสูงกว่าน้ำ เนื่องจากความจุความร้อนจำเพาะของเหล็กน้อยกว่าน้ำ พิจารณาได้จาก Cเหล็ก = 0.11 cal/g 0C Cน้ำ = 1.00 cal/g 0C

  26. การเปลี่ยนสถานะและความร้อนแฝงPhase changes and Latent heat

  27. กราฟแสดง การเปลี่ยนแปลงสถานะของน้ำ เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไป

  28. 230c

  29. วิธีลดความร้อนออกจากร่างกายในขณะที่มีไข้สูงคือใช้ผ้าชุบแอลกอฮอล์เช็ดตัว การระเหยของแอลกอฮอล์นั้นเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วมาก ถามว่าเราต้องใช้แอลกอฮอล์ทั้งหมดกี่กรัมในการระเหยออกจากผิวหนังของชายที่หนัก 70 kg เพื่อลดอุณหภูมิลง 1.5 0C สมมติให้พลังงานความร้อนที่ต้องการใช้ในการระเหยของแอลกอฮอล์มาจากชายคนนี้ ดังนั้น

  30. การส่งผ่านความร้อนHeat transfer • การนำความร้อน (Heat conduction) • การพาความร้อน (Heat convection) • การแผ่รังสีความร้อน (Heat radiation)

  31. การนำความร้อน(Heat conduction) การนำความร้อน เป็นการส่งผ่านความร้อนด้วยการชนกันของอนุภาคตัวกลางที่อยู่ติดกัน โดยไม่มีการเคลื่อนที่ของอนุภาคตัวกลาง การไหลของความร้อนมีทิศทางจากที่ที่มีอุณภูมิสูงไปยังที่ที่มีอุณหภูมิต่ำ แสดงการนำความร้อนในฉนวน

  32. การนำความร้อนในโลหะเกิดขึ้นได้รวดเร็วกว่าในฉนวนเนื่องจากมีอิเล็กตรอนอิสระช่วยในการส่งผ่านความร้อนการนำความร้อนในโลหะเกิดขึ้นได้รวดเร็วกว่าในฉนวนเนื่องจากมีอิเล็กตรอนอิสระช่วยในการส่งผ่านความร้อน

  33. วิเคราะห์การนำความร้อนวิเคราะห์การนำความร้อน พิจารณาแท่งตัวนำที่มีพื้นที่หน้าตัด Aยาว Lต่อกับแหล่งอุณหภูมิสูง THและแหล่งอุณหภูมิต่ำ TCแท่งตัวนนำถูกหุ้มด้วยฉนวน อัตราการไหลของความร้อนหรือ กระแสความร้อน k = สภาพนำความร้อน (Thermal conductivity)

  34. การนำความร้อน (heat conduction) IH =กระแสความร้อน (J/s หรือ W) Q = พลังงานความร้อน (J) k = สภาพนำความร้อน (W/m.K) A= พื้นที่หน้าตัดของตัวกลางที่ความร้อนไหลผ่าน (m2) t= เวลา (s) T= อุณหภูมิ (K) L= ความหนาของตัวกลางที่ความร้อนไหลผ่าน (m)

  35. สภาพนำความร้อน (Thermal conductivity)

  36. การนำความร้อนของวัสดุต่างชนิดการนำความร้อนของวัสดุต่างชนิด

  37. ตัวอย่าง เตาอบอาหารมีพื้นที่ผิวทั้งหมด 0.20 m2และผนังหนา 1.5 cm ซึ่งมีสภาพนำความร้อน จงหาว่าใน 30 นาที มีการสูญเสียความร้อนเท่าไร เมื่ออุณหภูมิในเตาเป็น และภายนอกเป็น อัตราการไหลของความร้อนผ่านผนังเตา ดังนั้นใน 30 นาที มีการสูญเสียความร้อนไป

  38. การพาความร้อน(Convection) การพาความร้อน เกิดขึ้นโดยอาศัยการเคลื่อนที่ของมวลของของไหล เช่น น้ำ หรือ อากาศที่ถูกทำให้ร้อนจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง จากรูป โมเลกุลของน้ำพาความร้อนจากบริเวณก้นภาชนะไปยังส่วนต่างๆของภาชนะ

  39. การพาความร้อน การพาความร้อนอย่างไม่อิสระ (forced convection) เกิดขึ้นเมื่อการเคลื่อนที่ของของไหลถูกบังคับ การพาความร้อนอย่างอิสระ (free convection) เกิดขึ้นเมื่อการเคลื่อนที่ของของไหลเกิดจากผลต่างของความหนาแน่น

  40. ลมทะเล ลมบก การพาความร้อนในธรรมชาติ

  41. ลมทะเลและลมบกเกิดเนื่องจากความแตกต่างของความจุความร้อนจำเพาะของทรายกับน้ำลมทะเลและลมบกเกิดเนื่องจากความแตกต่างของความจุความร้อนจำเพาะของทรายกับน้ำ ลมบก ลมทะเล

  42. การแผ่รังสีความร้อน(Radiation)การแผ่รังสีความร้อน(Radiation) การแผ่รังสีความร้อนเป็นการส่งผ่านความร้อนโดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า การแผ่รังสีเกิดขึ้นได้โดยไม่ต้องอาศัยตัวกลาง เช่น ความร้อนที่มาจากดวงอาทิตย์ หรือความร้อนที่มาจากกองไฟ

  43. การแผ่รังสีความร้อน (heat radiation)

  44. แสดงค่าอุณหภูมิของวัตถุแสดงค่าอุณหภูมิของวัตถุ ความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานการแผ่รังสีกับความยาวคลื่น วัตถุทุกชนิดที่มีอุณหภูมิสูงกว่า 0 Kจะแผ่รังสีออกมาทุกช่วงความยาวคลื่น

  45. เมื่อ = Wein’s displacement constant = กระแสของความร้อน IHเนื่องจากการแผ่รังสี หรืออัตราการแผ่รังสีของวัตถุพื้นที่ Aที่มีอุณหภูมิสัมบูรณ์ Tคือ

  46. Stefan-Boltzmann Law e = emissivityหรือ สภาพการแผ่รังสี มีค่าอยู่ระหว่าง 0ถึง 1 ขึ้นอยู่กับชนิดและอุณหภูมิของวัตถุ วัตถุดำ (black body)มีค่า emissivityเป็น 1 วัตถุดำคือ วัตถุที่ดูดกลืนพลังงานรังสีทั้งหมดที่ตกลงบนวัตถุ ที่สภาวะสมดุลทางความร้อน มันจะแผ่รังสีออกมาเท่ากับที่มันดูดเข้าไป

  47. Thermal imagings

  48. Infrared

More Related