180 likes | 345 Views
COE2010-04 : โปรแกรมออกแบบวงจรกรองความถี่ต่ำผ่านโดยใช้ตัวต้านทานและตัวเก็บประจุมาตรฐาน. โดย นายชญาน์ แหวนหล่อ 503040219-3 นาย ธนวัฒน์ วัฒนราช 503040231-3. COE2010-04 : โปรแกรมออกแบบวงจรกรองความถี่ต่ำผ่านโดยใช้ตัวต้านทานและตัวเก็บประจุมาตรฐาน. อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ
E N D
COE2010-04 :โปรแกรมออกแบบวงจรกรองความถี่ต่ำผ่านโดยใช้ตัวต้านทานและตัวเก็บประจุมาตรฐาน โดย นายชญาน์ แหวนหล่อ 503040219-3 นายธนวัฒน์วัฒนราช503040231-3
COE2010-04 :โปรแกรมออกแบบวงจรกรองความถี่ต่ำผ่านโดยใช้ตัวต้านทานและตัวเก็บประจุมาตรฐาน อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ร่วมประเมินโครงการ ดร. นวภัค เอื้ออนันต์ อ. จิระเดช พลสวัสดิ์
หัวข้อเรื่องที่จะนำเสนอหัวข้อเรื่องที่จะนำเสนอ วัตถุประสงค์ของโครงการ ขอบเขตของโครงการ ความคืบหน้าของโครงการ การออกแบบโปรแกรม การใช้งานโปรแกรม
วัตถุประสงค์ของโครงการวัตถุประสงค์ของโครงการ • พัฒนาเทคนิคการเขียนโปรแกรมเพื่อนำค่าอุปกรณ์มาตรฐาน มาแทนลงในวงจรกรองความถี่ต่ำผ่าน เพื่อคำนวณหาการตอบสนองความถี่หรือค่าสัมประสิทธิ์ของฟังก์ชั่นถ่ายโอนให้ใกล้เคียงกับที่ต้องการ • หาเทคนิคที่จะตัดทิ้งค่าอุปกรณ์บางตัวที่เป็นไปไม่ได้ ไม่ต้องนำมาคำนวณ เพื่อทำให้ได้คำตอบเร็วขึ้น
ขอบเขตของโครงการ วงจรกรองความถี่ต่ำผ่านแบบ Real poles วงจรกรองความถี่ต่ำผ่านแบบ Butterworth วงจรกรองความถี่ต่ำผ่านแบบ Bessel ลำดับของวงจรกรองความถี่ไม่เกิน 6
ความคืบหน้าของโครงการความคืบหน้าของโครงการ
การออกแบบโปรแกรม สมการของการประมาณค่า สมการที่ได้จากวงจร ตัวอย่าง สมการที่ได้จากวงจร order 2 สิ่งที่จะทำ คือ จะต้องแทนค่าของ RC ในสัมประสิทธิ์ bkด้วยค่าใด เพื่อให้ได้ค่าของ transfer function ใกล้เคียงกับค่าที่ต้องการจากการประมาณค่ามากที่สุด
การออกแบบโปรแกรม การทำงานของโปรแกรมที่ออกแบบไว้จะประกอบด้วย ส่วนหลักๆที่สำคัญ 4 ส่วนได้แก่ การเตรียมค่าตัวเก็บประจุและตัวต้านทานมาตรฐาน การเตรียมค่าสัมประสิทธิ์ตามทฤษฎี การเตรียมค่าส่วนประกอบต่างๆ ของวงจร การคำนวณหาสัมประสิทธิ์ต่างๆ ของวงจรแล้วนำมาเปรียบเทียบกับสัมประสิทธิ์ตามทฤษฎี
การเตรียมค่าตัวเก็บประจุและตัวต้านทานมาตรฐานการเตรียมค่าตัวเก็บประจุและตัวต้านทานมาตรฐาน การเตรียมค่าตัวเก็บประจุและตัวต้านทานมาตรฐาน เป็นส่วนที่ทำหน้าที่เตรียมเตรียมพื้นที่ในการเก็บค่าตัวต้านทานและตัวเก็บประจุมาตรฐานทั้งหมดที่จะใช้ในการพิจารณา
การเตรียมค่าสัมประสิทธิ์ตามทฤษฎีการเตรียมค่าสัมประสิทธิ์ตามทฤษฎี การประมาณค่าแบบ Real Poles ตารางค่าสัมประสิทธิ์
การเตรียมค่าสัมประสิทธิ์ตามทฤษฎีการเตรียมค่าสัมประสิทธิ์ตามทฤษฎี 2. การประมาณค่าแบบ Butterworth ตารางค่าสัมประสิทธิ์
การเตรียมค่าสัมประสิทธิ์ตามทฤษฎีการเตรียมค่าสัมประสิทธิ์ตามทฤษฎี 3. การประมาณค่าแบบ Bessel ตารางค่าสัมประสิทธิ์
การเตรียมค่าส่วนประกอบต่างๆ ของวงจร • เตรียมค่าที่ใช้ในการคำนวณเกี่ยวกับวงจรกรองความถี่ต่ำซึ่งได้แก่ ค่าแรงดันที่ input, ค่าของกระแสที่ไหลผ่าน R , ค่าของกระแสที่ไหลผ่าน C • จองพื้นที่ที่ใช้เก็บค่าสัมประสิทธิ์ที่เป็นค่าที่ได้จากวงจร • เลือกIndex เพื่อกำหนดขอบเขตในการสืบค้น
การคำนวณเกี่ยวกับวงจรการคำนวณเกี่ยวกับวงจร • คำนวณค่าสัมประสิทธิ์ของแรงดันที่ input ของ RC แต่ละชุด • คำนวณค่าของ error ของสัมประสิทธิ์เปรียบเทียบกับค่าที่เราต้องการ • เก็บค่าของ R C และ สัมประสิทธิ์ของ V ที่ดีที่สุด
ตัวอย่างการหา error ระหว่างสัมประสิทธิ์ (Order2) ส.ป.ส. จากการประมาณค่า ส.ป.ส. จากวงจร 1.หาค่า error ระหว่างสัมประสิทธิ์ที่มีอันดับตรงกันโดนคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ของการ error เช่น 2.นำค่า error ที่ได้มาเปรียบเทียบกับ maximum error ซึ่งตอนแรกกำหนดค่าไว้ที่ 0 ถ้าค่า error ระหว่างสัมประสิทธิ์ที่มีค่ามากที่สุด มีค่ามากกว่าจะให้ค่า error ระหว่างสัมประสิทธิ์นั้นเป็นค่า maximum error แทน
ตัวอย่างการหา error ระหว่างสัมประสิทธิ์ (Order2) 3.กำหนดค่า Global error ที่ 100% จากนั้นนำค่า maximum error มาเปรียบเทียบ ถ้า maximum error มีค่าน้อยกว่าให้เก็บค่า maximum error เป็น Global error พร้อมกับเก็บค่าของ R C และ แรงดัน ณ ขณะนั้นไว้ด้วย 4.นำค่า R C ชุดใหม่มาเปรียบเทียบหาค่า error โดยเริ่มจากข้อ 1 วนแบบนี้ไปเรื่อยๆ จนกระทั่งได้ค่า global error ที่น้อยที่สุด
สาธิตการทำงานของโปรแกรมสาธิตการทำงานของโปรแกรม