310 likes | 688 Views
ผลกระทบต่อแรงงานในการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน ในปี 2015. 1. 1. ความเป็นมา. 2. ASEAN Political and Security Community (APSC). ASEAN Economic Community (AEC). ASEAN Socio-Cultural Community (ASCC). 3. โครงสร้างใหม่ ของอาเซียน ภายใต้ ASEAN Charter. ASEAN Secretariat. AC.
E N D
ผลกระทบต่อแรงงานในการเข้าสู่ผลกระทบต่อแรงงานในการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน ในปี 2015 1
ASEAN Political and SecurityCommunity (APSC) ASEAN Economic Community (AEC) ASEAN Socio-Cultural Community (ASCC) 3
โครงสร้างใหม่ของอาเซียน ภายใต้ ASEAN Charter ASEAN Secretariat AC มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 มกราคม 2552 ผู้นำอาเซียน (ASEAN Summit) เสาเศรษฐกิจ เสาสังคม-วัฒนธรรม เสาการเมือง ASEAN Coordinating Council รมต.ต่างประเทศอาเซียน ASEAN Political-Security Community : ASC Council ASEAN Economic Community : AEC Council ASEAN Socio-Cultural Community : ASCC Council • ASEAN Sectoral Ministerial Bodies • รัฐมนตรีรายสาขา : • รมต. ต่างประเทศ • รมต. กลาโหม • รมต. ยุติธรรม • ASEAN Regional Forum • ASEAN Sectoral Ministerial Bodies • รัฐมนตรีรายสาขา : • รมต.เศรษฐกิจ AEM • รมต. คลังอาเซียน • รมต. เกษตร / พลังงาน / ขนส่ง / ICTท่องเที่ยว / วิทยาศาสตร์ ฯลฯ • ASEAN Sectoral Ministerial Bodies • รัฐมนตรีรายสาขา : • รมต. วัฒนธรรม • รมต. ศึกษา • รมต. สิ่งแวดล้อม • รมต. แรงาน • รมต. สาธารณสุข ฯลฯ Senior Officials Senior Officials Senior Officials Senior Officials Committee of Permanent Representatives in Jakarta ระดับเอกอัครราชทูตจากประเทศสมาชิกอาเซียน ประจำที่จาร์กาตา 4
เป้าหมายของ AEC เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ 4 ด้าน 5
AEC ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community:AEC ) 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน สินค้าเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรี e-ASEAN (พาณิชย์อิเลคทรอนิกส์) นโยบายภาษี ทำธุรกิจบริการได้อย่างเสรี นโยบายการแข่งขัน ไปลงทุนได้อย่างเสรี สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา แรงงานมีฝีมือไปทำงานได้อย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค เงินทุนเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรีมากขึ้น ปี 2558 (2015) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ลดช่องว่างการพัฒนา ระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่ ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ สร้างเครือข่ายการผลิต จำหน่าย สนับสนุนการพัฒนา วิสาหกิจขนาดกลางและย่อมSMEs จัดทำ FTA กับประเทศนอกอาเซียน 6
ความร่วมมือด้านแรงงานในพิมพ์เขียวประชาคมเศรษฐกิจ (AEC Blueprint) ปรากฏใน 2 หมวดดังต่อไปนี้ A 2 การเคลื่อนย้ายธุรกิจบริการเสรี (Free flow of services) A 5 การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี (Free flow of skilled labour) ประเทศสมาชิกอาเซียนจะต้องอนุญาตให้ผู้ประกอบกิจการการบริการของอาเซียนเข้ามาทำธุรกิจ และในปี พ.ศ.๒๕๕๘ สมาชิกอาเซียนสามารถมีสัดส่วนการถือหุ้นได้ถึงร้อยละ ๗๐ อยู่ภายใต้การเจรจาเรื่องการเคลื่อนย้ายบุคคลธรรมดา (Movement of Natural Persons) และเป็นเรื่องของบุคลากรวิชาชีพที่ต้องมีการจัดทำข้อตกลงร่วมกัน (Mutual Recognition Arrangement:-MRA) ซึ่งเป็นการยอมรับคุณสมบัติในการมีใบอนุญาตทำงานในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน 7
2. การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี 8
เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรีเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี แผนงานใน AEC Blueprint การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี • อำนวยความสะดวกการตรวจลงตรา/ออกใบอนุญาตทำงาน • ทำข้อตกลงยอมรับร่วม (MRAs) สาขาวิชาชีพหลัก • ยอมรับร่วมกันเรื่อง “คุณสมบัติ” ที่เป็นเงื่อนไขการได้รับอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพ • นักวิชาชีพในอาเซียนประเทศหนึ่ง สามารถจดทะเบียนเพื่อประกอบวิชาชีพในประเทศอาเซียนอื่นๆได้ แต่ยังต้องปฏิบัติตามกฏระเบียบภายในของประเทศนั้นๆในการอนุญาตประกอบวิชาชีพสาขานั้นๆ • ปัจจุบัน ตกลงกันได้แล้ว 7 สาขา สาขาวิศวกรรม สาขาพยาบาล สาขานักสำรวจ สาขาแพทย์ สาขานักบัญชี สาขาทันตแพทย์ สาขาสถาปัตยกรรม 9
MRA MRA (Mutual Recognition Arrangement) คือ • ข้อตกลงยอมรับร่วมคุณสมบัตินักวิชาชีพ ซึ่งเป็นข้อตกลงเกี่ยวกับการแสวงหาจุดยอมรับร่วมกันเรื่องคุณสมบัติของผู้ทำงานด้านบริการ โดยเฉพาะในกลุ่มที่เป็นนักวิชาชีพ เช่น แพทย์ วิศวกร สถาปนิก นักบัญชี เป็นต้น • คุณสมบัติที่ประเทศสมาชิกมานั่งเจรจาเพื่อหาจุดตกลงยอมรับร่วมกัน เช่น เรื่องการศึกษา และประสบการณ์การทำงาน ซึ่งเป็นเงื่อนไขในการได้รับอนุญาตให้ทำงานในประเทศหนึ่งๆ • วัตถุประสงค์ของข้อตกลงชนิดนี้ คือ การช่วยให้นักวิชาชีพอาเซียนสามารถเคลื่อนย้ายเข้าไปทำงานในประเทศอาเซียนอื่นได้สะดวกมากขึ้น 10
การทำงาน MRA ตัวอย่างการทำงานของ MRA ด้านวิศวกร เช่น นาย ก เป็นวิศวกรไทย จบปริญญาตรีด้านวิศวกรรมศาสตร์ ทำงานมาแล้ว 7 ปี และได้รับใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมในประเทศไทยแล้ว ตาม MRA อาเซียนเกี่ยวกับอาชีพวิศวกร นาย ก สามารถที่จะไปขอขึ้นทะเบียนเป็นวิศวกรวิชาชีพอาเซียนได้ เพื่อจะได้ไปสมัครกับสภาวิศวกรของประเทศอาเซียนอื่น (เช่น อาจเป็น สิงคโปร์) เพื่อเข้าทำงานเป็นวิศวกรต่างด้าว แต่ นาย ก ก็ยังจำเป็นต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบภายในของประเทศนั้น (เช่น หากสิงคโปร์กำหนดว่าต้องมีใบอนุญาตวิชาชีพวิศวกร นาย ก ก็ต้องสอบใบอนุญาตให้ได้ก่อน) 11
MRA มีประโยชน์ตรงไหน • ผู้ประกอบวิชาชีพชาวไทยมีคุณสมบัติตรงตาม MRA - จะช่วยอำนวยความสะดวกให้ท่านสามารถมีโอกาสไปทำงานในประเทศอาเซียนอื่นๆ ที่ได้ผลตอบแทนมากกว่าได้ง่ายขึ้น เพราะ MRA นั้นได้ช่วยลดขั้นตอนการตรวจสอบและรับรองวุฒิการศึกษาหรือความรู้ทางวิชาชีพนั้นๆ ให้แล้ว (ในทางกลับกันหากนักวิชาชีพชาวไทย กลัวการถูกแย่งงานจากนักวิชาชีพอาเซียนอื่นๆ ก็จำเป็นที่จะต้องกระตุ้นเพิ่มพูนศักยภาพตนเอง ซึ่งประโยชน์จะตกอยู่กับผู้บริโภค) • คนธรรมดาทั่วไป - โอกาสที่เพิ่มมากขึ้นในการได้รับบริการจากนักวิชาชีพที่มีความสามารถจากชาติอาเซียนอื่นๆ ที่อาจจะเข้ามาทำงานในไทยเพิ่มมากขึ้น โดยไม่ต้องเสียค่าเดินทางไกลๆ เพื่อขอรับบริการนั่นเอง 12
ความคืบหน้า MRA ปัจจุบันนี้ผู้นำอาเซียนได้ลงนามรับรอง MRA สำหรับวิชาชีพต่าง ๆ ไปแล้ว 7 สาขาอาชีพด้วยกัน ได้แก่ แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล สถาปนิก วิศวกร บัญชี และช่างสำรวจ สาขาอาชีพที่ 8 คือ วิชาชีพท่องเที่ยวแห่งอาเซียน ซึ่งสมาชิกอาเซียน 9 ประเทศ ได้ลงนามในข้อตกลงร่วมกัน (ASEAN Mutual Recognition Arrangement on Tourism Professionals) ที่กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม เมื่อเดือนมกราคม 2552 (ยกเว้นประเทศไทย อยู่ระหว่างการนำเสนอ ครม. และรัฐสภา เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ) 13
จำนวนผู้ประกอบอาชีพสาขาต่างๆ ของไทย ที่มา: สภาวิชาชีพ 14
3. ผลกระทบต่อการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี 15
ผลดีของการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรีต่อแรงงานไทยผลดีของการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรีต่อแรงงานไทย ตลาดแรงงานไทยใหญ่ขึ้น มีโอกาสมากขึ้น แรงงานฝีมือเข้าสู่ตลาดแรงงานในประเทศ FTA โดยเฉพาะในอาเซียนได้อย่างเสรี เกิดการเกื้อกูลกันด้านบุคลากรวิชาชีพ ช่วยพัฒนาภูมิภาคอาเซียนและคู่เจรจา FTA อำนวยความสะดวกการเคลื่อนย้ายบุคคลธรรมดา และเกิดการจ้างงานถาวรภายในประเทศสมาชิกอาเซียน ส่งเสริมความร่วมมือด้านแรงงานระหว่างประเทศสมาชิก เน้นการพัฒนาทักษะและฝีมือแรงงานอาเซียนให้แข่งขันได้ เป็นที่ยอมรับ 17
ปัญหากดดันต่อแรงงานไทยปัญหากดดันต่อแรงงานไทย ปัญหาสมองไหล (Brain Drain) ขาดแคลนแรงงาน แรงงานไทยที่มีระดับทักษะฝีมือต่ำที่ไม่เป็นที่น่าสนใจในตลาดต่างประเทศ ความอ่อนด้อยทางด้านภาษาต่างประเทศ หลักสูตรการศึกษาหรือใบรับรองมาตรฐานวิชาชีพของไทยไม่ได้รับการยอมรับ (accredited) ในระดับสากล ขาดมาตรการการคุ้มครองแรงงานไทยที่ไปทำงานต่างประเทศร่วมกับสมาชิกอาเซียน 18
ความสามารถด้านภาษาอังกฤษความสามารถด้านภาษาอังกฤษ 21
จำนวนแรงงานจากประเทศกลุ่มอาเซียนที่เข้ามาทำงานในประเทศไทย มีจำนวนรวมทั้งสิ้น 8,059 คน ที่มา: สำนักบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ กรมการจัดหางาน 22
จำนวนแรงงานจากประเทศกลุ่มอาเซียนที่เข้ามาทำงานในประเทศไทย 7 สาขาอาชีพ มีจำนวนรวมทั้งสิ้น 390 ตำแหน่งจำแนกรายประเทศ ที่มา: สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว กรมการจัดหางาน 23
จำนวนแรงงานจากประเทศกลุ่มอาเซียนที่เข้ามาทำงานในประเทศไทย 7 สาขาอาชีพ มีจำนวนรวมทั้งสิ้น 390 ตำแหน่ง จำแนกรายอาชีพ ที่มา: สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว กรมการจัดหางาน 24
4. ต้องมีการเตรียมตัวอย่างไร 25
การเตรียมความพร้อมในการรองรับการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรีการเตรียมความพร้อมในการรองรับการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี • พัฒนาศักยภาพและสมรรถนะของแรงงาน • พัฒนาความรู้และทักษะด้านภาษา • ปรับปรุงสวัสดิการและอัตราค่าตอบแทน เพื่อดึงดูดแรงงานฝีมือไม่ให้ไปทำงานต่างประเทศ 26
แผนการดำเนินการของกระทรวงแรงงานแผนการดำเนินการของกระทรวงแรงงาน • แผนงานแห่งชาติสำหรับการก้าวสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 • แผนรองรับการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรีตามกรอบ ASEAN ECONOMIC COMMUNITY (AEC) ในปี ค.ศ. 2015 • แผนดำเนินการแก้ไขกฎหมายและกฎระเบียบของกระทรวงแรงงานที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี ๗ สาขาวิชาชีพ พ.ศ. 2554 - 2558 • เช่น - พระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๕๑ - ร่าง พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... - พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๘ - พระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ.๒๕๔๓ 27
แผนการดำเนินการของกระทรวงแรงงาน (ต่อ) 3. เตรียมความพร้อมด้านศักยภาพแรงงาน โดยพัฒนาทักษะด้านภาษา โลจิสติกส์ การบริหารจัดการ และเทคโนโลยีสารสนเทศให้กับแรงงานและบุคลากรกระทรวงแรงงาน 4. ประชาสัมพันธ์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนให้แก่แรงงานไทยและบุคลากรกระทรวงแรงงานเพื่อให้มีความตระหนักรู้ 28
ตัวอย่างกิจกรรมการดำเนินงาน (AEC) • ทำการศึกษา/วิเคราะห์/วิจัย (R&D) • จัดทำแผนปฏิบัติการด้านแรงงานรองรับการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน ในปี 2558 • อำนวยความสะดวกในการตรวจลงตราและใบอนุญาตทำงานสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพและแรงงานฝีมืออาเซียน • พัฒนามาตรฐานวิชาชีพร่วมกับประเทศสมาชิกอาเซียน • เข้าร่วมการแข่งขันฝีมือแรงงานอาเซียน • เตรียมความพร้อมด้านศักยภาพแรงงานในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (ด้านภาษา โลจิสติกส์ การบริหารจัดการ และเทคโนโลยีสารสนเทศ) • ประชาสัมพันธ์เรื่องการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับด้านแรงงาน 29
ขอบคุณ 31