1 / 30

การเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาด (Epidemiology surveillance)

การเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาด (Epidemiology surveillance). สุมัทนา กลางคาร. การเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาด.

asher-rivas
Download Presentation

การเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาด (Epidemiology surveillance)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาด(Epidemiology surveillance) สุมัทนา กลางคาร

  2. การเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาดการเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาด การติดตาม สังเกต และพินิจพิจารณาอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง เพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง (Dynamic process) ของการเกิด การกระจายของโรค และปัญหาสาธารณสุขต่าง ๆ รวมองค์ประกอบที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง (P, T, P)

  3. วัตถุประสงค์การเฝ้าระวังวัตถุประสงค์การเฝ้าระวัง • ทราบลักษณะการเกิด การกระจาย • ทราบแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง • ค้นพบความผิดปกติที่เกิดขึ้นได้ทัน • เป็นแนวทางในการกำหนดมาตรการป้องกัน และควบคุม

  4. รูปแบบการเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาดรูปแบบการเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาด • Active surveillance - การเฝ้าระวังการบาดเจ็บในงานกีฬา - การเฝ้าระวังปัญหาในการประชุมนานาชาติ • Passive surveillance - การเฝ้าระวังตามระบบงานสาธารณสุข

  5. แหล่งข้อมูลการเฝ้าระวังแหล่งข้อมูลการเฝ้าระวัง • รายงานการป่วย • รายงานการตาย • รายงานการชันสูตรโรค • รายงานการสอบสวน • รายงานการระบาด • รายงานการสำรวจทางระบาดวิทยา • รายงานการศึกษารังโรคในสัตว์ การกระจายของแมลง • รายงานการใช้วัคซีน ซีรั่ม ยา • ข้อมูลเกี่ยวกับประชากรและสิ่งแวดล้อม

  6. ขั้นตอนการเฝ้าระวัง • การรวบรวมข้อมูล • การเรียบเรียงข้อมูลและนำเสนอข้อมูล • การวิเคราะห์และแปลผล • การกระจายข่าวสาร

  7. ขั้นตอนการเฝ้าระวังและงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง บันทึกข้อมูล ข่าวจาก แหล่งอื่น ๆ Public awareness รวบรวมและเรียบเรียงข้อมูล วิเคราะห์และแปลความหมาย มีการระบาด เผยแพร่ ข่าวสารความรู้ วางแผนแก้ปัญหา สอบสวนการระบาด Agencies concerned ดำเนินการ ควบคุมกำกับ ประเมินผล

  8. เครื่องมือที่ใช้ในการเฝ้าระวังเครื่องมือที่ใช้ในการเฝ้าระวัง • เครื่องมือรวบรวม - แบบรายงานผู้ป่วย : รง. 506 รง.506/1 • เครื่องมือเรียบเรียง - E.0, E.1, E.2, E.3, E.4, Daily Record

  9. ลักษณะของระบบเฝ้าระวังโรคที่ดีลักษณะของระบบเฝ้าระวังโรคที่ดี • Timely • Valid & Sensitive • Simple • Representative • Magnitude

  10. เครือข่ายการเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาดเครือข่ายการเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาด • ระดับประเทศ • ระดับจังหวัด • ระดับอำเภอ • ระดับตำบล • ระดับหมู่บ้าน

  11. การวิเคราะห์และแปลผล วัตถุประสงค์ • แสดงการกระจายของโรคตาม PPT • แสดงความเหมือนหรือแตกต่างของการเกิดโรค • แสดงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการถ่ายทอดโรค • เลือกหาปัจจัยที่เหมาะสมในการป้องกันควบคุมโรค

  12. ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล การเปรียบเทียบ (Making Comparisons) • ฐานข้อมูล - Sources of Data - Case Detection - Diagnosis Criteria Suspected Case Confirmed Case

  13. ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล การเปรียบเทียบ (Making Comparisons) • ค่าหรือหน่วยที่ใช้ในการเปรียบเทียบ - จำนวน กรณีเปรียบเทียบประชากรกลุ่มเดียวกัน - อัตรา อัตราส่วน สัดส่วน - การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง (Mean, Median, Mode)

  14. ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล การเปรียบเทียบ (Making Comparisons) • เวลา - ช่วงเวลา - เวลาในอดีต • ค่ามาตรฐาน - ข้อมูลในอดีต ค่าของพื้นที่รวม เกณฑ์หรือเป้าหมาย - การศึกษาวิจัย

  15. ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล การหาความแตกต่าง (Identifying difference) • ความแตกต่างของประชากรกลุ่มใหญ่ (Gross Population) • ความแตกต่างระหว่างกลุ่มย่อยหรือกลุ่มที่มีคุณลักษณะเฉพาะ (Specific Population)

  16. ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล การประเมินความมีนัยสำคัญ (Assessing the Significance of Differences) • การประเมินจำนวน • การประเมินอัตรา การปรับอัตรามาตรฐาน (Adjusted Rate) • การประเมินสัดส่วน Z-test or t-test • การประเมินค่าเฉลี่ย Standard Normal Curve

  17. การแปลผล • กระบวนการทางสถิติ • ทบทวนข้อมูลที่เกี่ยวข้อง • ความครอบคลุมของเนื้อหา (PPT)

  18. การวิเคราะห์การเกิดโรคการวิเคราะห์การเกิดโรค • การเทียบค่ามาตรฐาน - มัธยฐาน 5 ปี - ค่าเฉลี่ย หรือ Mean + 2 S.D. • การเรียงลำดับ - จำนวน - อัตรา • การจัดลำดับความสำคัญ

  19. การวิเคราะห์การกระจายโรคการวิเคราะห์การกระจายโรค • การกระจายตามเวลา - Epidemic Curve - Epidemic Detection - Seasonal Variation, Cyclic Fluctuation - Secular Trend • การกระจายตามสถานที่ - แสดงตำแหน่ง ขนาดของปัญหา

  20. การวิเคราะห์การกระจายโรคการวิเคราะห์การกระจายโรค • การกระจายตามบุคคล - การเปรียบเทียบคุณลักษณะย่อยในช่วงเวลาเดียวกัน - การเปรียบเทียบตามระยะเวลาของคุณลักษณะย่อย อย่างเดียว - การเปรียบเทียบการกระจายตามสถานที่ของ คุณลักษณะย่อยอย่างเดียว

  21. การวิเคราะห์สาเหตุการเกิดโรคการวิเคราะห์สาเหตุการเกิดโรค • จากระบบรายงานเฉพาะโรค • ข้อมูลเพิ่มจากการสอบสวนโรค การวิจัย • การเฝ้าระวังบอกความมากน้อยของปัจจัย • การวิเคราะห์ความสัมพันธ์

  22. การกำหนดตำแหน่งบนพื้นพิภพการกำหนดตำแหน่งบนพื้นพิภพ Global Positioning System : GPS ประกอบด้วย • ส่วนอวกาศ (Space Segment) : ดาวเทียม 24 ดวง • สถานีควบคุม (Control Station Segment) • ส่วนผู้ใช้ (Use Segment) : Civilian, Military

  23. ส่วนประกอบเครื่องรับสัญญาณดาวเทียมส่วนประกอบเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม Receiver ประกอบด้วย • ตัวเครื่อง (Body) • ส่วนให้พลังงาน (Power Supply) • ส่วนเสาอากาศ (Antenna)

  24. การทำงานของ GPS ขั้นที่ 1 การรับสัญญาณจากดาวเทียมเพื่อให้ได้ตำแหน่ง ขั้นที่ 2 การวัดระยะจากดาวเทียม ขั้นที่ 3 การได้เวลาที่ถูกต้อง ขั้นที่ 4 ต้องรู้ตำแหน่งของดาวเทียมก่อน ขั้นที่ 5 การช้าของสัญญาณในการเดินทางผ่าน ชั้นบรรยากาศ

  25. ลักษณะของข้อมูลที่ต้องการลักษณะของข้อมูลที่ต้องการ Precision Accuracy Currency Credibility Appropriateness to Need Accessibility Timeliness Comprehensibility Cost ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์(Geographic Information System : GIS)

  26. GIS คืออะไร GIS คือ ระบบเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงพื้นที่ และเชื่อมโยงและผสมผสานข้อมูลทั้งข้อมูลเชิงพื้นที่และข้อมูลเชิงบรรยาย ที่เก็บไว้ในฐานข้อมูล สามารถดัดแปลงแก้ไขและวิเคราะห์ และแสดงผลการวิเคราะห์ และการนำเสนอข้อมูล เพื่อให้เห็นมิติ และความสัมพันธ์ด้านพื้นที่ของข้อมูล

  27. องค์ประกอบของ GIS 1. Hardwares 2. Softwares - โปรแกรมระบบ : WINDOWS, UNIX - โปรแกรมสารสนเทศภูมิศาสตร์ : ARC/INFO, PAMAP, INTERGRAPH 3. Data 4. People ware 5. Method

  28. หน้าที่หลักของ GIS • การจัดเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Capture) • การเก็บบันทึกและเรียกข้อมูล (Data Storage and Retrieval) - Digitizer - Scanner • การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis) Overlay • การวิเคราะห์/ประมวลข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Operation on Data) การแสดงผลข้อมูล (Data Display)

  29. คำถามที่สามารถตอบได้ด้วยการใช้ GIS • ทำเลที่ตั้ง (Location) What is at ….. ? • สภาพการณ์หรือเงื่อนไข (Condition) Where is it …. ? • แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง นับตั้งแต่ (Trends) What has changed since …. ? • รูปแบบของสถานการณ์ (Pattern) Which data are related … ? • แบบจำลอง หรือเกิดอะไรขึ้น ถ้า … ? (Modeling - What if?) What if … ?

  30. GIS Computer Cartography Remote Sensing GIS Database Management Computer Aid Design

More Related