370 likes | 614 Views
การผลิตสัตว์เศรษฐกิจเบื้องต้น Principle of Livestock production 1203140. รศ.ดร.วัชรพงษ์ วัฒนกูล คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักศึกษา. ทราบและเข้าใจหลักการในการผลิตสัตว์เศรษฐกิจของประเทศไทย สามารถพัฒนาการเรียนรู้ หาข้อมูลในเชิงลึกด้านการผลิตสัตว์ต่อไป.
E N D
การผลิตสัตว์เศรษฐกิจเบื้องต้นPrinciple of Livestock production1203140 รศ.ดร.วัชรพงษ์ วัฒนกูล คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักศึกษาวัตถุประสงค์ เพื่อให้นักศึกษา • ทราบและเข้าใจหลักการในการผลิตสัตว์เศรษฐกิจของประเทศไทย • สามารถพัฒนาการเรียนรู้ หาข้อมูลในเชิงลึกด้านการผลิตสัตว์ต่อไป
สังเขปวิชา (ศึกษาและเรียนรู้) • 1. ระบบการผลิตสัตว์เศรษฐกิจของไทย • 2. หลักการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ • 3. ระบบการสืบพันธุ์และการผสมพันธุ์ • 4. ระบบการย่อยอาหารและการนำใช้ประโยชน์ของอาหาร • 5. หลักในการจัดการดูแลสัตว์ • 5.1 สัตว์ไม่เคี้ยวเอื้อง ได้แก่ ไก่เนื้อ ไก่ไข่ เป็ด สุกรพันธุ์และสุกรขุน • 5.2 สัตว์เคี้ยวเอื้องเช่น โคเนื้อ โคนม • 5.3 กลุ่มสัตว์น้ำ
การวัดและประเมินผล • คะแนน 100% แบ่งเป็น • 1. สอบกลางภาคและปลายภาค 85% • 2. รายงานกลุ่มระหว่างเทอม 10% • 3. คะแนนทดสอบย่อยระหว่างชั้นเรียน หรือการเข้าชั้นเรียน 5 % • ประเมินโดยใช้ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน แบบอิงกลุ่ม แต่ต้องผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำคือ 50 % • ปี 48 A 2 B 18 C 42 D 57 I (F) 5
กำหนดการ • เปิดเรียน ต้น มิ.ย. • สอบกลางภาค ปลาย ก.ค.-ต้น ส.ค. • เสนอรายงานกลุ่ม ปลาย ก.ย. • สอบปลายภาค ต้น ต.ค.
วิธีการเสนอรายงานกลุ่มวิธีการเสนอรายงานกลุ่ม • 1. แบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่ม (จำนวน 10 กลุ่ม) ตามลำดับที่ • 2. ให้นักศึกษาไปแบ่งงานกันทำว่าใครจะทำอะไร ยกเว้นหน้าที่นำเสนอรายงานหน้าชั้นไม่ต้องระบุ • 3. ทำรายงานในหัวข้อที่กำหนด พิมพ์ในกระดาษ A4 ไม่เกิน 10 หน้ากระดาษ ใช้ตัวอักษรไทย Angsana ขนาด 16 • 4. ส่งรายงานก่อนวันกำหนดนำเสนอ 1 สัปดาห์ (ส่งช้าหักวันละ 1 % ทั้งกลุ่ม)
5. ทำบทสรุปขนาดไม่เกิน ครึ่งหน้า A4 แจกทุกคนในห้อง (ไม่มีบทสรุป หัก 2 %ทั้งกลุ่ม) • 6. ให้ทุกคนเตรียมตัวนำเสนอรายงาน • ไม่มาในวันนำเสนอรายงานของกลุ่มตนเองหัก 5 %(เฉพาะคน) • อาจารย์จะสุ่มเลือกมานำเสนอ กลุ่มละ 2 คน ถ้าผู้ถูกสุ่มไม่ได้เตรียมตัวมานำเสนอหัก 2 % (ทั้งกลุ่ม)
การให้คะแนนรายงาน • 1. เนื้อหารายงาน 5% • ความครอบคลุมเนื้อหา 4% • ความสวยงามของรายงาน 1% • 2. การนำเสนอ 5% • การครอบคลุมเนื้อหา 2 % • ความสวยงามของแผ่นใสหรือpower point 1% • การพูดและเทคนิคการนำเสนอ1% • การควบคุมเวลาและการตอบคำถาม 1%
หัวข้อรายงาน • 1. การผลิตไก่กระทง (ตลาด/พันธุ์/โรงเรือน) • 2. การผลิตไก่กระทง (อาหาร/การจัดการ/โรค) • 3. การผลิตไก่ไข่ (ตลาด/พันธุ์/โรงเรือน) • 4. การผลิตไก่ไข่ (อาหาร/การจัดการ/โรค) • 5. การผลิตเป็ด (ตลาด/พันธุ์/โรงเรือน) • 6. การผลิตเป็ด (อาหาร/การจัดการ/โรค) • 7. การผลิตสุกรพันธุ์ (ตลาด/พันธุ์/โรงเรือน) • 8. การผลิตสุกรพันธุ์ (อาหาร/การจัดการ/โรค) • 9. การผลิตสุกรขุน (ตลาด/พันธุ์/โรงเรือน) • 10. การผลิตสุกรขุน (อาหาร/การจัดการ/โรค)
การผลิตสัตว์เศรษฐกิจ • Domestication การเลี้ยงสัตว์ • Domestic animal สัตว์ที่อยู่ภายใต้การควบคุมของมนุษย์ ในด้านการจัดการ ดูแล อาหาร ที่อยู่ • Tamed animal สัตว์ที่ทำให้เชื่อง • Feral animal สัตว์เร่ร่อน • Companion animal สัตว์เลี้ยงเป็นเพื่อน • Food animal สัตว์เลี้ยงเพื่อเป็นอาหาร
ประวัติศาสตร์การเลี้ยงสัตว์ของมนุษย์ประวัติศาสตร์การเลี้ยงสัตว์ของมนุษย์
ปริมาณการเลี้ยงสัตว์ในประเทศไทย (2548 ต่อ)
ปริมาณการเลี้ยงสัตว์ในประเทศไทย (2548 ต่อ)
ปริมาณการเลี้ยงสัตว์ในประเทศไทย (2548 ต่อ)
ปริมาณการเลี้ยงสัตว์ในประเทศไทย (2548 ต่อ) ที่มา : กรมปศุสัตว์ (www.did.go.th)
การเลี้ยงสัตว์ในประเทศไทยการเลี้ยงสัตว์ในประเทศไทย • เดิม เลี้ยงหลังบ้าน ปล่อยและใช้ผลพลอยได้ • ปัจจุบัน • การผลิตเพื่อการบริโภค • มีการปรับปรุงพันธุ์ • มีการปรับปรุงเทคนิคการเลี้ยง • เป้าหมาย ให้คุ้มค่าต่อการลงทุนมากที่สุด • ปัญหา กลไกตลาดเอื้อแก่ผู้ผลิตรายใหญ่
มูลค่าการนำเข้าและส่งออกปศุสัตว์ไทย (2548 ต่อ)
มูลค่าการนำเข้าและส่งออกปศุสัตว์ไทย (2548 ต่อ)
มูลค่าการนำเข้าและส่งออกปศุสัตว์ไทย (2548 ต่อ)
มูลค่าการนำเข้าและส่งออกปศุสัตว์ไทย (2548 ต่อ)
ผลพลอยได้อื่นที่ได้จากการเลี้ยงสัตว์ผลพลอยได้อื่นที่ได้จากการเลี้ยงสัตว์ • 1. เพื่อใช้แรงงาน • 2. ใช้มูลสัตว์เป็นปุ๋ย • 3. ใช้ผลพลอยได้จากการเกษตรให้เกิดประโยชน์ เช่นฟางข้าวเป็นอาหารสัตว์ • 4..ลดปัญหาด้านสังคม เช่นการใช้แรงงานเพื่อป้องกันการย้าย ถิ่นฐาน • 5. อื่นๆ เช่น กีฬา สัตว์ทดลอง ปุ๋ยชีวภาพ
ประมาณการปุ๋ยจากมูลสัตว์ ปี 48 82.5 ล้านตัน
มูลสัตว์ 82.5 ล้านตันประกอบด้วย