50 likes | 175 Views
โ ครงการ พัฒนาระบบสารสนเทศทางระบาดวิทยากรุงเทพมหานคร ( BMA EPI-NET ). กองควบคุมโรค สำนักอนามัย. โ ครงการ พัฒนาระบบสารสนเทศทางระบาดวิทยากรุงเทพมหานคร ( BMA EPI-NET ). ประกอบด้วย 1. การจัดตั้งศูนย์ระบาดวิทยากรุงเทพมหานคร 2. การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ขึ้น 4 ระบบงาน ได้แก่
E N D
โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศทางระบาดวิทยากรุงเทพมหานครโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศทางระบาดวิทยากรุงเทพมหานคร ( BMA EPI-NET ) กองควบคุมโรค สำนักอนามัย
โครงการ พัฒนาระบบสารสนเทศทางระบาดวิทยากรุงเทพมหานคร ( BMA EPI-NET ) ประกอบด้วย 1. การจัดตั้งศูนย์ระบาดวิทยากรุงเทพมหานคร 2. การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ขึ้น 4 ระบบงาน ได้แก่ - ระบบงานเฝ้าระวังและสอบสวนทางระบาดวิทยา - ระบบงานด้านการเฝ้าระวังโรคเอดส์ - ระบบด้านการควบคุมและกำจัดสัตว์นำโรค - ระบบสารสนเทศผู้บริหาร • การพัฒนาระบบเครือข่าย ระบบเทคนิคที่นำมาใช้ ได้แก่ MIS GIS EIS • ลักษณะระบบงาน • เป็นระบบงานในแผนพัฒนาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ สำนักอนามัย ( ระบบเครือข่ายระบาดวิทยา ตั้งแต่ พ.ศ. 2537 – 2540 ) • เป็นการพัฒนาระบบงานด้านระบาดวิทยาจากการ ดำเนินงานด้วยระบบ manaul มาเป็นระบบอิเลค โทรนิกส์ • ใช้เลขบัตรประชาชน 13 หลัก เพื่อเป็น Primary Key ในการเก็บฐานข้อมูลรายบุคคล • โครงสร้างของระบบงานเกี่ยวกับ • การรายงานผู้ป่วยโรคติดต่อทั่วไปและโรคเอดส์ ตามแบบรายงาน (รง.506, รง.5062/1) รายงาน การสอบสวนโรค รายงานกิจกรรมการควบคุม สัตว์นำโรค ฯล • ระบบการแจ้งเตือนเมื่อมีการระบาดหรือพบ ความผิดปกติ • การเชื่อมโยงกับหน่วยงานเครือข่าย และ สารสนเทศภูมิศาสตร์ • การออกรายงานและการนำเสนอ
เป้าหมาย • เครือข่ายระบบสารสนเทศทางระบาดวิทยาของ • กรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย • โรงพยาบาลภาครัฐและเอกชนจำนวน 105 แห่ง • ร.พ.สังกัดสำนักการแพทย์ 9 แห่ง • สำนักงานเขต 50 แห่ง • ศูนย์บริการสาธารณสุข 66 แห่ง วัตถุประสงค์ 1. จัดตั้งศูนย์กลางข้อมูลสถิติ ข่าวสารด้านระบาดวิทยาโรคติดต่อในข่ายงานการเฝ้าระวัง รวมถึงโรคเอดส์และผู้ป่วย ติดเชื้อที่มีอาการ และศูนย์ข้อมูลด้านการกำจัดสัตว์นำโรคใน กรุงเทพมหานคร 2. พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ด้านระบาดวิทยาและการควบคุมโรคสำหรับส่วนกลางและเครือข่าย เพื่อรองรับการเชื่อมต่อกับศูนย์กลางฐานข้อมูลทางด้านสาธารณสุขของสำนักอนามัยในระยะต่อไป ผลสำเร็จ 1.การควบคุมและสอบสวนโรคและการรายงาน สามารถ ดำเนินการได้อย่างรวดเร็ว * 2. มีระบบแจ้งเตือนที่มีประสิทธิภาพ สามารถแจ้งเตือนทันที ที่พบความผิดปกติ 3. ลดขั้นตอนการดำเนินงาน ลดความซ้ำซ้อนและ ความ ผิดพลาดของข้อมูล 3. มีระบบการเชื่อมโยงเครือข่ายกับหน่วยงานภายใน สังกัดสำนักอนามัยและหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง *รวดเร็ว คือ ภายในเวลาไม่เกิน 24 ชั่วโมง
ขั้นตอนการดำเนินงาน ระยะที่ 1กำหนดดำเนินการเสร็จใน เดือนกุมภาพันธ์ 2550 ได้แก่ การติดตั้งระบบคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประกอบทั้งหมด และเชื่อมต่อสายสัญญาณเครือข่าย ติดตั้งโปรแกรมจัดการ ฐานข้อมูลสำหรับ Web Server และซอฟต์แวร์ Web Server พร้อมทดสอบการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่ได้ ติดตั้ง ระยะที่ 2 กำหนดดำเนินการเสร็จใน เดือนพฤษภาคม 2550 ได้แก่การติดตั้งซอฟต์แวร์ประยุกต์ระบบงานด้านการเฝ้าระวัง และสอบสวนทางระบาดวิทยา ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร และทดสอบการทำงานของซอฟต์แวร์ประยุกต์ ระยะที่ 3 กำหนดดำเนินการเสร็จใน เดือนสิงหาคม 2550ได้แก่การติดตั้งซอฟต์แวร์ประยุกต์เพื่อการกำจัดสัตว์นำโรค และระบบงานด้านการ เฝ้าระวังโรคเอดส์โดยการรายงานผู้ป่วยในกรุงเทพมหานคร โอนย้ายข้อมูลเดิมเข้าสู่ฐานข้อมูลใหม่ ทดสอบการทำงานของซอฟต์แวร์ประยุกต์ ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ของสำนักอนามัย และจัดส่งคู่มือการใช้งาน