250 likes | 363 Views
การประชุมเสวนาครั้งที่ 2 เรื่องการดำเนินโครงการเวทีแลกเปลี่ยนความรู้เพื่อการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในประเทศไทย ( 2nd Roundtable Consultation on Implementing a Climate Change Adaptation Knowledge Platform in Thailand ). วันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 ณ โรงแรมแลนด์มาร์ค กรุงเทพมหานคร.
E N D
การประชุมเสวนาครั้งที่ 2เรื่องการดำเนินโครงการเวทีแลกเปลี่ยนความรู้เพื่อการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในประเทศไทย (2nd Roundtable Consultation on Implementing a Climate Change Adaptation Knowledge Platform in Thailand ) วันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 ณ โรงแรมแลนด์มาร์ค กรุงเทพมหานคร
วัตถุประสงค์ของการประชุมเสวนาครั้งที่2วัตถุประสงค์ของการประชุมเสวนาครั้งที่2 • ผู้ดำเนินการจากโครงการเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ฯ จะได้รายงานผลการศึกษาประเมิณสถานการณ์ของประเทศไทย จากการวิเคราะห์เอกสาร การสัมภาษณ์ และการประชุมเสวนาครั้งที่ 1 • ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเสนอแนะความคิดเห็นต่อแผนดำเนินงานในอนาคตของโครงการเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ฯ รวมถึงโครงการอื่นๆ ที่สนับสนุนการปรับตัว ในประเทศไทย โดยเฉพาะในช่วง 2-3 ปีข้างหน้านี้
โครงการเวทีแลกเปลี่ยนความรู้เพื่อการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในภูมิภาคเอเชียThe Regional Climate Change Adaptation Knowledge Platform for Asia (Adaptation Knowledge Platform) Source: http://www.flickr.com/photos/40561337@N07/sets/72157622506056556/show/
ทำไมต้องมีโครงการเวทีแลกเปลี่ยนความรู้เพื่อการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในภูมิภาคเอเชีย?ทำไมต้องมีโครงการเวทีแลกเปลี่ยนความรู้เพื่อการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในภูมิภาคเอเชีย? Within and across regional boarders: • many initiatives to build national capacity to respond to climate change • initiatives undertaken independently from each other • little organised exchange of information and knowledge knowledge gaps: • a lot of information but not understandable • lack of coherent national level entities to ensure that knowledge addresses gaps in policy development and implementation Need to build on and expand multilateral, regional and national cooperation to address trans-boundary implications
จุดหมายหลัก Goal: To facilitate climate change adaptation in Asia at local, national and regional levels and strengthen adaptive capacity Purpose: • establish a regionally & nationallyowned information exchange mechanism • facilitate the integration of climatechange adaptation into national & regional economic & development policies, processes & plans • strengthen linkages with development agenda • enhance research & institutionalcapacity Fishers in Hambantota, Sri Lanka / L. Schipper
การดำเนินงาน (1/2) • Regional knowledge sharing system To promote dialogue, improve exchange of knowledge, information and methods • Generation of new knowledge To facilitate the generation of new climate change adaptation knowledge to promote understanding and provide guidance relevant to the development and implementation of national and regional climate change policy, plans and processes focussed on climate change adaptation • Application of existing and new knowledge Synthesis of existing and new climate change adaptation knowledge to facilitate its application in sustainable development practices at the local, national and regional levels
การดำเนินงาน (2/2) • The Adaptation Knowledge Platform is: • Synthesising worldwide research to make it available and easy to understand • Bringing together different initiatives to share knowledge and experience • Compiling information that is open to everyone • Linking current climate change research and government policies to address the needs of the region’s most vulnerable populations.
ประเทศและกลุ่มคนเป้าหมายประเทศและกลุ่มคนเป้าหมาย Geographic Scope: In its first phase (2009-2011), the Adaptation Platform will cover 13 countries in the GMS (Cambodia, China, Lao PDR, Myanmar, Thailand and Viet Nam), South Asia (Bangladesh, Bhutan, Nepal and Sri Lanka) and South East Asia (Indonesia, Malaysia and the Philippines). Audiences: The immediate beneficiaries are civil servants, researchers and development workers who will be equipped with the knowledge, tools and opportunities to promote climate adaptation strategies in their work, as well as a limited number of local communities with whom research and pilot activities are undertaken. Eventually, the beneficiary pool will be very wide as climate knowledge is applied for the public good in diverse areas of work.
หน่วยงานที่รับผิดชอบหลักหน่วยงานที่รับผิดชอบหลัก • The Adaptation Knowledge Platform is managed by a group of organizations working to address the challenge of climate change. • Our secretariat is hosted at the • UNEP Regional Resource Centre for Asia • and the Pacific in Bangkok, Thailand. • Initial key implementing partners: • Stockholm Environment Institute (SEI) • Swedish Environment Secretariat for Asia (SENSA) • United Nations Environment Programme (UNEP) • UNEP Regional Resource Centre for Asia and the Pacific (RRC.AP) • Funder: Swedish International Development Cooperation Agency (SIDA) Mailing address UNEP Regional Resource Centre for Asia and the Pacific(UNEP RRC.AP) Outreach Building Asian Institute of Technology P.O. Box 4, KlongLuang Pathumthani 12120 THAILAND
โครงการเวทีแลกเปลี่ยนความรู้เพื่อการปรับตัวฯ ในประเทศไทย • Thailand was selected as one of the initial countries to support national-level activities. • A scoping assessment in Thailand (now – Mar 10) is being undertaken in collaboration with the Unit for Social and Environmental Research (USER), Chiang Mai University and under a guidance of the Climate Change Knowledge Management Center(CCKM), Ministry of Sciences and Technology of Thailand. • Other activities are being planned in 2010-2011 under three work components of the Adaptation Knowledge Platform
การประชุมเสวนา ครั้งที่ 1เพื่อส่งเสริมการเชื่อมโยงองค์ความรู้สู่การปฏิบัติสำหรับการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในประเทศไทยให้ดีขึ้น(Roundtable Workshop on Improving the Links between Knowledge and Action for Adaptation to Climate Change in Thailand)
ประเด็นปัญหาและความท้าทายที่การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีส่วนกระตุ้นให้เห็นในบริบทของการจัดการความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศประเด็นปัญหาและความท้าทายที่การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีส่วนกระตุ้นให้เห็นในบริบทของการจัดการความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ • ประเทศไทยต้องบูรณาการการพัฒนา - การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ - ประชาชน ไว้ในแผนพัฒนา • ต้องมีการทำความเข้าใจประเด็นเรื่องความเสี่ยงมากขึ้น • ต้องการองค์ความรู้ที่แตกต่างกันสำหรับแต่ละพื้นที่ • ความต้องการเรื่องข้อมูล • ความน่าเชื่อถือ ความไม่แน่นอนของข้อมูล เป็นปัญหาสำคัญ การวิเคราะห์ข้อมูลของหน่วยงานต่างๆ ได้ผลการวิเคราะห์ที่แตกต่างกัน • ขาดแคลนข้อมูลรายพื้นที่ • การเข้าถึงและการให้ข้อมูล เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ • 5. ประเด็นปัญหาที่สำคัญ • เกี่ยวกับน้ำ คือ ภัยพิบัติจากน้ำและการใช้น้ำ การจัดการน้ำควรทำให้เหมาะสมกับทางเดินน้ำตามธรรมชาติ สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ หรือข้อมูล (ความไม่แน่นอน) การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เกี่ยวกับน้ำ • เกี่ยวกับพืช คือ การจัดการความเสี่ยง ศัตรูพืช การเปลี่ยนรูปแบบการปลูกพืช และความรู้เกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ • เกี่ยวกับประชาชน คือ การดำเนินวิถีชีวิต และ สาธารณสุข • เกี่ยวกับเทศบาลและชุมชน (ชุมชนชายฝั่ง การใช้น้ำ และการอพยพย้ายถิ่น) คือ 1) จะให้ข้อมูลประชาชนเกี่ยวกับการปรับตัวอย่างไร 2) ฐานข้อมูลเกี่ยวกับกลุ่ม/ประชาชนที่มีความเปราะบาง 3) การวางแผนเกี่ยวกับโครงสร้างพื้นฐาน ชุมชนเมือง และ การวางผังเมือง
เชื่อมโยงองค์ความรู้สู่การปฏิบัติเชื่อมโยงองค์ความรู้สู่การปฏิบัติ • อะไรบ้างที่ทำแล้วได้ผล และไม่ได้ผล? จะมีการนำประสบการณ์เหล่านั้นไปใช้กับการจัดการปัญหาการปรับตัวอย่างไร? • หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรจะช่วยเหลือกันและเรียนรู้ร่วมกันจากการทำงาน และแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน • นโยบายในการทำงานเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการทำงานขององค์กรต่างๆ แต่ละองค์กรควรต้องมีแผนงานดำเนินการสำหรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในรูปแบบที่มีบูรณาการระหว่างองค์กร โดยเฉพาะองค์กรที่ความเกี่ยวเนื่องกันในการทำงาน • ควรมีการศึกษาวิจัยก่อนการวางแผน • การสื่อสาร: • - การสื่อสารสองทาง (ทั้งฝ่ายสร้างองค์ความรู้ และผู้ใช้ความรู้) เป็นสิ่งจำเป็น • - ความไว้ใจของประชาชนในพื้นที่ต่อนักวิชาการ มีผลต่อความร่วมมือในแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมต่างๆ • การจัดทำแผนการปรับตัวควรจะมีข้อมูลจากประสบการณ์ของประชาชนในพื้นที่ จะทำให้พวกเขาเข้าใจว่าทำไมพวกเขาจะต้องร่วมมือ และเห็นประโยชน์ที่พวกเขาจะได้รับจากการดำเนินงานหรือความเสียหายที่จะเกิดขึ้นถ้าพวกเขาไม่ร่วมมือ • ควรมีการจัดข้อมูลให้เป็นระบบ • ควรสร้างความเป็นเจ้าของร่วมกันในสมบัติสาธารณะระหว่างประชาชนในพื้นที่ เพื่อช่วยกันรักษา • ควรจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ ประชุมเสวนา และประชุมต่างๆเพื่อให้ประชาชนมีโอกาสอภิปราย เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ • การศึกษาจะช่วยให้คนรุ่นใหม่เข้าใจประเด็นเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและช่วยให้พวกเขาปรับตัวได้ดีขึ้น
การประเมินสถานการณ์การปรับตัวในประเทศไทยการประเมินสถานการณ์การปรับตัวในประเทศไทย (A Scoping Assessment in Thailand) • ขอขอบคุณหน่วยงานที่ให้ความอนุเคราะห์ข้อมูล เอกสาร ข้อคิดเห็นและสนับสนุน: • ศูนย์จัดการความรู้ด้านการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ • กรมชลประทาน • กรมทรัพยากรน้ำ • กรมวิชาการเกษตร • กรุงเทพมหานคร • ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ • สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ • สำนักงานนโยบายและแผนการจราจรและขนส่ง • สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี • บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม • มูลนิธิรักษ์ไทย • หน่วยงานอื่นที่ไม่ได้ออกนามและผู้เข้าร่วมงานการประชุมเสวนาครั้งที่ 1 เพื่อส่งเสริมการเชื่อมโยงองค์ความรู้สู่การปฏิบัติสำหรับการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในประเทศไทยให้ดีขึ้นในวันที่ 22 ธันวาคม 2552 ทุกท่าน
โครงการเวทีแลกเปลี่ยนความรู้เพื่อการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในภูมิภาคเอเชียโครงการเวทีแลกเปลี่ยนความรู้เพื่อการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในภูมิภาคเอเชีย Climate change is a problem that we must accept and deal with today. The Regional Knowledge Platform helps find practical approaches to coping with these changes. Through knowledge sharing, training events and new research, we are opening doors of communication to encourage cooperation across regions and between nations. Information and research on climate change is constantly evolving. Public policy and practice regarding adaptation to climate change must evolve just as quickly. Planners and policy makers are beginning to understand climate vulnerability and apply that knowledge to decision making. Because it is powered by cutting-edge research from around the world, the Regional Knowledge Platform will continue to remain relevant and useful. We accept that we cannot reverse climate change right away, but it is possible to adapt to face the coming problems. Together, we can develop real solutions.
ศูนย์จัดการความรู้ด้านการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ Climate Change Knowledge Management Center(CCKM)
รายงานประเมินสถานการณ์การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Scoping Assessment Reportfor Thailand) -สรุปผลการการประเมินสถานการณ์ -ข้อเสนอแนะที่สำคัญ
-ใครคือผู้ที่ควรได้รับการสนับสนุน? -ควรมีการพัฒนาขีดความสามารถด้านใดบ้าง?(โดยเน้นถึงความต้องการขององค์กรตนเองเป็นหลัก แต่อาจจะมีส่วนที่เกี่ยวเนื่องกับองค์กรอื่นได้ หากมีการทำงานร่วมกัน) ความต้องการพัฒนาขีดความสามารถที่สำคัญ (Capacity building priorities)
จากการประชุมกลุ่มย่อยภาคเช้า เมื่อพิจารณาความต้องการพัฒนาขีดความสามารถด้านต่างๆแล้วให้ถกกันว่า-ขีดความสามารถด้านใดที่ควรจะให้โครงการเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ฯ สนับสนุน และด้านใดควรจะให้หน่วยงานหรือโครงการอื่นสนับสนุน (What should be capacity building priorities for the Platform? For other initiatives?)-สำหรับด้านที่ให้โครงการเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ฯสนับสนุน ควรมีกิจกรรมเฉพาะเจาะจงอะไรบ้าง อย่างไร (For those to be supported by the Platform, which specific activities should be carried out? How?) ยุทธศาสตร์และกิจกรรมที่สำคัญ (Strategy and priority activities)
จากการประชุมในวันนี้และประสบการณ์ของผู้อภิปราย จะสะท้อนความคิดเห็นในเชิงแนะนำให้กับโครงการเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ฯ หรือโครงการอื่นอย่างไรบ้าง และในฐานะตัวแทนขององค์กร ผู้อภิปรายคิดว่าองค์กรของตนจะมีส่วนในการพัฒนาขีดความสามารถด้านการปรับตัวอย่างไร และองค์กรอื่นมีโอกาสร่วมงานหรือเป็นพันธมิตรด้วยหรือไม่ อย่างไร เสนอแนะการดำเนินงานในอนาคตด้านการสร้างขีดความสามารถของ โครงการเวทีฯและองค์กรหรือโครงการอื่น
การดำเนินงานต่อไปของโครงการฯ หลังการประชุม • สรุปผลที่ได้จากการประชุมเสวนาครั้งนี้ • รวบรวมข้อมูลเพิ่มเติมจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (เอกสารและการสัมภาษณ์) • สรุปรายงานสถานการณ์ของประเทศไทยฉบับสุดท้าย (Thailand Scoping Assessment- Final Report) • จากการวิเคราะห์ข้อมูลและข้อเสนอแนะจากที่ประชุม สรุปกิจกรรมที่โครงการฯ จะมีส่วนช่วยสนับสนุนในการพัฒาขีดความสามารถในการปรับตัวในประเทศไทย ร่วมกับหน่วยงานและโครงการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง (เริ่มหลังจาก เม.ย. 53 เป็นต้นไป)