1 / 59

Decision Limit & Detection Capability

Decision Limit & Detection Capability. CC a & CC b. Negative. Positive. Non-Compliant <----> Compliant. Banned substances. Zero tolerance Not detectable Detection Limits ขึ้นอยู่กับวิธีทดสอบที่ใช้ ซึ่งแตกต่างกันในแต่ละห้องปฏิบัติการ

ayasha
Download Presentation

Decision Limit & Detection Capability

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Decision Limit & Detection Capability

  2. CCa & CCb

  3. Negative Positive Non-Compliant <----> Compliant

  4. Banned substances • Zero tolerance • Not detectable • Detection Limits ขึ้นอยู่กับวิธีทดสอบที่ใช้ • ซึ่งแตกต่างกันในแต่ละห้องปฏิบัติการ • จึงมีการกำหนดมาตรฐานเป็นค่า Minimum • Required Performance Limit = MRPL

  5. Banned substances • วิธีทดสอบของห้องปฏิบัติการจะต้องสามารถทดสอบที่ระดับ MRPLได้ • ตัดสินว่าผลิตภัณฑ์ Non-compliant เมื่อความเข้มข้นของสารในตัวอย่าง > CCa • ที่ระดับความเชื่อมั่น 99 %

  6. New analytical limits: X CCa - Decision Limit Limit of detection X CCb - Detection Capability Limit of quantification

  7. CCและ CC • CC มาจาก critical concentration • มาจาก alpha error • เป็นความผิดพลาดเนื่องจากตรวจพบ banned drug ในตัวอย่าง ทั้งที่จริงๆแล้วไม่มี banned drug ในตัวอย่าง False positive result

  8. CCและ CC • มาจาก beta error • เป็นความผิดพลาดเนื่องจากตรวจไม่พบ banned drug ในตัวอย่าง ทั้งที่จริงๆแล้วมี banned drug ในตัวอย่าง False negative result

  9. CCและ CC • นำมาใช้ในการตัดสินตัวอย่างว่าผ่านมาตรฐานหรือไม่ โดยประเมินความเข้มข้นที่ตรวจพบในตัวอย่างเทียบกับ CCและ CC

  10. a- and ß-errors for banned compounds a-error = 1 % b-error = 5 %

  11. CCa ความเข้มข้นที่ทำให้เกิดความผิดพลาดเท่ากับ  ในการตรวจพบสารในตัวอย่าง

  12. ทดสอบ blank หลายๆ ซ้ำ ได้ค่า responsesต่างๆ Frequency Signal

  13. ค่าเฉลี่ยของ response Normal distribution XB Frequency Signal

  14. XB ค่าเฉลี่ย + 2.33 SD Frequency a = 1 % CCa Signal

  15. XB blank samples จำนวน 1% ที่ให้ผลทดสอบมีค่า > CCa Frequency CCa Signal

  16. XB ซึ่งเป็น false positive results (> Zero) = a-Error = 1% Frequency CCa Signal

  17. Decision Limit - banned substances CCมีค่ามากกว่า 0 และน้อยกว่า MRPL

  18. XB Frequency CCa Signal

  19. ตัวอย่างที่มีความเข้มข้นเฉลี่ย = CCa Frequency CCa Signal

  20. 50 % ตรวจไม่พบสาร Frequency CCa Signal

  21. 50 % ตรวจพบสาร Frequency CCa Signal

  22. Banned substances ที่ความเข้มข้น CC False negative rate = 50%

  23. ถาม: ที่ความเข้มข้นของ banned drug เท่าไรที่มั่นใจได้ 95% ว่าผลทดสอบตัวอย่างไม่ผ่านมาตรฐาน ตอบ: ที่ความเข้มข้น Detection Capability (CCb)

  24. CCb-banned substance ความเข้มข้นที่วิธีทดสอบสามารถตรวจพบ banned drug ได้อย่างแท้จริง โดยมีความมั่นใจ 95%

  25. Frequency CCa Signal

  26. < 50 % ตรวจไม่พบสาร Frequency CCa Signal

  27. << 50 % ตรวจไม่พบสาร Frequency CCa Signal

  28. 5 % ตรวจไม่พบสาร = false negative results Frequency CCa CCb Signal

  29. Banned substances ที่ความเข้มข้น CCb False positive rate = น้อยมากๆ False negative rate = 5% (และ CCbจะต้อง < MRPL)

  30. การหาค่า CCa และ CC-banned drug • สามารถทำได้ 2 วิธี • 1. ทดสอบ fortified sample blank 3 ความเข้มข้นหรือ • 2. ทดสอบ sample blank

  31. การหาค่า CCa- วิธีที่ 1 • Fortify negative matrix ที่ความเข้มข้น • 1.0, 1.5 และ 2 เท่าของ MRPL • ทดสอบแต่ละความเข้มข้น7 ซ้ำ • ทดสอบเช่นนี้อีก 2 ครั้ง ในวันที่แตกต่างกัน • เขียนกราฟระหว่าง signal (แกน Y) กับความ • เข้มข้นที่ fortify (แกน X)

  32. S.D. of the within-laboratory reproducibility    1.0 x MRPL 1.5 x MRPL 2.0 x MRPL Calibration line Signal

  33. คำนวณ SE ของ intercept Calibration line  Signal  1.0 x MRPL 1.5 x MRPL 2.0 x MRPL

  34. คูณ SE ด้วย 2.33 (1%, one sided)  Calibration line  Signal  1.0 x MRPL 1.5 x MRPL 2.0 x MRPL

  35. Intercept + (2.33 x SEInt) CCa CCaคือความเข้มข้นที่ได้จาก signal ที่มีค่าเท่ากับ (Intercept) + (2.33 x SE of the within laboratory reproducibility of the intercept) CCa= ( 2.33SEintercept ) / slope  Calibration line  Signal  1.0 x MRPL 1.5 x MRPL 2.0 x MRPL

  36. การหาค่า CCb – วิธีที่ 1 • Fortify negative matrix ที่ความเข้มข้นน้อยกว่าและเท่ากับ MRPL โดยแบ่งช่วงห่างเท่าๆ กัน • เขียนกราฟระหว่าง signal (แกน Y) กับความเข้มข้นที่ fortify (แกน X) • CC = ( 2.33SEintercept + 1.64SECC ) / slope

  37. Signal at CCa + 1.64 x SE ของ W/L reproducibility at CCa CCb CCbคือความเข้มข้นที่ได้จาก Signalที่มีค่าเท่ากับ (signalของ CCa) + (1.64 x SE ของ W/L reproducibility at CCa)  Calibration line  Signal  CCa 0.33 x MRPL 0.66 x MRPL 1.00 x MRPL

  38. การหาค่า CCa- วิธีที่ 2 • ทดสอบ sample blank  20 ซ้ำ • คำนวณ S : N ratio • CCaเท่ากับ 3 เท่าของ S : N ratio

  39. การหาค่า CCb – วิธีที่ 2 • ทดสอบ fortified sample blank ที่ความ • เข้มข้นเท่ากับ CCa  20 ซ้ำ • CCb = CCa + 1.64 S.D.

  40. การหาค่า CCและ CCb – วิธีที่ 3 • ทดสอบ sample blank 20 ซ้ำ คำนวณค่าเฉลี่ยของ response( n) และ SDของ response (SDn) • ทดสอบ fortified sample blank 21 ซ้ำคำนวณ RSD ของ response (RSDs) • slope จาก calibration curve = a

  41. การหาค่า CCและ CCb – วิธีที่ 3 • CC = 2.33 (SDn) / a • CC = 2.33 (SDn) + 1.64 (n) (RSDs) • a [ 1 – 1.64 (RSDs) ]

  42. } } > MRPL < MRPL ตรวจสอบวิธีทดสอบที่ใช้ว่าสามารถทดสอบ ที่ระดับ MRPL (หรือต่ำกว่า) ได้หรือไม่ • Chloramphenicol (MRPL = 0.3 µg/kg) • ทดสอบ sample blank และ fortified sample blank ที่ความเข้มข้นต่างๆ ดังนี้ 0.10, 0.20, 0.30, 0.45, 0.60 µg/kg

  43. ตรวจสอบวิธีทดสอบที่ใช้ว่าสามารถทดสอบตรวจสอบวิธีทดสอบที่ใช้ว่าสามารถทดสอบ ที่ระดับ MRPL (หรือต่ำกว่า) ได้หรือไม่ • ทดสอบแต่ละความเข้มข้น7 ซ้ำ • ทดสอบเช่นนี้อีก 2 ครั้ง ในวันที่แตกต่างกัน • ตรวจสอบ accuracy และ precision

  44. ผลกรณีที่ 1 Q. What is CCß? A. < 0.1 µg/kg

  45. ผลกรณีที่ 1 Q. Is method fit-for-purpose? A. Yes. CCb is less than MRPL.

  46. ผลกรณีที่ 2 Q. What is CCß? A. ~0.20 µg/kg

  47. ผลกรณีที่ 2 Q. Is method fit-for-purpose? A. Yes. CCb is less than MRPL.

  48. ผลกรณีที่ 3 Q. What is CCß? A. 0.30 - 0.45 µg/kg

  49. ผลกรณีที่ 3 Q. Is method fit-for-purpose? A. No. CCb is greater than MRPL.

  50. Licensed substances • กำหนดมาตรฐานเป็นปริมาณตกค้างสูงสุดใน • ผลิตภัณฑ์ ( Maximum Residue Limit = MRL ) • วิธีทดสอบของห้องปฏิบัติการจะต้องสามารถทดสอบ • ที่ปริมาณ MRL ได้ • ตัดสินว่าผลิตภัณฑ์ Non-compliant เมื่อความเข้มข้นของสารในตัวอย่าง > CCa • ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 %

More Related