1 / 31

Frequency Response

สัปดาห์ที่ 13. ผลตอบสนองต่อความถี่. Frequency Response. (Part I). จุดประสงค์การเรียนรู้. สามารถหาความถี่เรโซแนนท์แบบขนานและอนุกรมของวงจร ที่ประกอบด้วยตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนำและตัวเก็บประจุ. สามารถคำนวณหาค่าตัวประกอบคุณภาพของวงจรได้. สามารถหาแบนด์วิดธ์ของวงจรได้. เนื้อหา.

baka
Download Presentation

Frequency Response

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)

  2. จุดประสงค์การเรียนรู้จุดประสงค์การเรียนรู้ • สามารถหาความถี่เรโซแนนท์แบบขนานและอนุกรมของวงจร ที่ประกอบด้วยตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนำและตัวเก็บประจุ • สามารถคำนวณหาค่าตัวประกอบคุณภาพของวงจรได้ • สามารถหาแบนด์วิดธ์ของวงจรได้

  3. เนื้อหา • วงจรเรโซแนนท์แบบขนาน • วงจรเรโซแนนท์แบบอนุกรม • ตัวประกอบคุณภาพ • แบนด์วิธดิ์ • บทสรุป

  4. วงจรเรโซแนนท์ • วงจรเรโซแนนท์แบบขนาน • วงจรเรโซแนนท์แบบอนุกรม

  5. เงื่อนไขการเกิดเรโซแนนท์ทำได้โดยการปรับค่าตัวเหนี่ยวนำ หรือตัวเก็บประจุ หรือการปรับความถี่ของแหล่งจ่ายกระแสที่ป้อนให้กับวงจร ในที่นี้กำหนดให้ความถี่เป็นตัวแปรที่ปรับค่าได้ สภาวะเรโซแนนท์ (Resonance) ทำการปรับค่าความถี่ของแหล่งจ่ายแรงดัน ที่ความถี่ค่าหนึ่งทำให้ค่ารีแอคแตนซ์ ได้ค่าอิมพิแดนซ์ แรงดันและกระแสในวงจรมีเฟสตรงกันตัวคูณกำลังของวงจรมีค่าเป็นหนึ่งตามทฤษฎี ความถี่เรโซแนนท์ (Resonant frequency)คือความถี่ที่ทำให้เกิดสภาวะเรโซแนนท์ ผลรวมของแรงดันที่ตกคร่อมตัวเหนี่ยวนำและตัวเก็บประจุมีค่าเป็นศูนย์ วงจรเรโซแนนท์แบบขนานอิมพิแดนซ์มีค่าสูงสุดกระแสไหลในวงจรมีค่าต่ำสุด วงจรเรโซแนนท์แบบอนุกรมอิมพิแดนซ์ของวงจรมีค่าต่ำสุดกระแสที่ไหลในวงจรจะมีค่าสูงสุด การวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ของตัวแปรในวงจร จะใช้เฟสเซอร์ในการวิเคราะห์

  6. วงจรเรโซแนนท์แบบขนาน ค่าแอดมิดแตนซ์ การเกิดเรโซแนนท์เมื่อแรงดันและกระแสที่ขั้วอินพุทมีเฟสตรงกัน มีค่าแอดมิดแตนซ์เฉพาะส่วนจริงเท่านั้นเป็นค่าความนำ (Conductance)

  7. ส่วนจินตภาพของแอดมิดแตนซ์มีค่าเป็นศูนย์ส่วนจินตภาพของแอดมิดแตนซ์มีค่าเป็นศูนย์ ความถี่เรโซแนนท์กำหนด เมื่อ เกิดการเรโซแนนท์ จะต้องกำหนดให้ค่าแอดมิดแตนซ์เท่ากับค่าความนำ ส่วนค่า Susceptance จะมีค่าเป็นศูนย์ วงจรจะเกิดการเรโซแนนท์เมื่อขนาดของแอดมิดแตนซ์มีค่าต่ำที่สุด ขนาดของอิมพิแดนซ์มีค่าสูงสุด แรงดันที่ตกคร่อมวงจรเป็น โดยที่กระแสจะไหลจากแหล่งจ่ายเข้าสู่ตัวต้านทานเพียงตัวเดียว โดยไม่ไหลเข้าสู่ตัวเหนี่ยวนำ (L) และตัวเก็บประจุ (C)

  8. การพิสูจน์ว่าไม่มีกระแสที่ไหลเข้าสู่ ที่ความถี่รีโซแนนท์ แทนค่า KCL กระแสที่ไหลเข้าสู่ L และ C มีค่าเป็นศูนย์ที่สภาวะการเกิดเรโซแนนท์

  9. ตัวประกอบคุณภาพ(Quality Factor: Q) ค่าตัวประกอบคุณภาพเป็นค่าที่นิยามเพื่อแสดงคุณสมบัติของวงจรเรโซแนนท์ ในการเลือกความถี่และการสูญเสียภายในวงจร ถ้าค่า Q สูงวงจรเรโซแนนท์จะมีคุณภาพที่ดี กว่าวงจรที่มีค่า Q ต่ำ เนื่องจากพลังงานที่สะสมในระบบมีค่าสูง เมื่อเปรียบเทียบกับกำลังงานที่สูญเสียที่เกิดขึ้นภายในระบบ ตัวประกอบคุณภาพ คืออัตราส่วนของพลังงานสูงสุดที่สะสมไว้ในวงจร เทียบกับพลังงานที่สูญเสียในหนึ่งคาบเวลา เพื่อความง่ายในการค่า Q

  10. พลังงานจะสะสมในตัวเหนี่ยวนำและตัวเก็บประจุพลังงานจะสะสมในตัวเหนี่ยวนำและตัวเก็บประจุ พลังงานที่สูญเสียจะเกิดที่ตัวต้านทาน สมการหาค่า Q ในเทอมของพลังงานที่เวลา t ใดๆ ที่สัมพันธ์กับอุปกรณ์รีแอคทีฟ คือ L, C และกำลังไฟฟ้าที่สูญเสียในตัว R เมื่อ คือคาบเวลาของแหล่งจ่ายที่เป็นสัญญาณไซน์ณ จุดความถี่ที่ต้องการหา Q หาค่า Q ที่ความถี่เรโซแนนท์ กำหนด Q แทนด้วย กระแสอินพุท แรงดันเอาท์พุทที่จุดเรโซแนนท์

  11. พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุพลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ พลังงานที่สะสมในตัวเหนี่ยวนำ แทนค่า หาพลังงานสะสมรวมที่เวลาใดๆ พลังงานรวมที่สะสมในตัวเหนี่ยวนำและตัวเก็บประจุเป็นค่าคงที่ เมื่อ

  12. ค่าพลังงานที่สูญเสียในตัวต้านทานต่อหนึ่งคาบเวลาค่าพลังงานที่สูญเสียในตัวต้านทานต่อหนึ่งคาบเวลา มุมระหว่างแรงดันและกระแสมีค่าเท่ากัน นำคาบเวลาคูณ เมื่อ ค่าตัวประกอบคุณภาพที่จุดเรโซแนนท์ แทนค่า

  13. แบนด์วิดธ์ (Bandwidth: BW) แบนด์วิดธ์ของวงจรเรโซแนนท์ คือช่วงความถี่ที่อยู่ระหว่างความถี่สองความถี่ เมื่อขนาดของอัตราการขยายตกลงมาที่ เท่าของค่าสูงสุด ความถี่ ณ จุดที่ผลตอบสนองหรือขนาดของอัตราการขยายมีค่าสูงสุดเรียกว่าความถี่เรโซแนนท์ แบนด์วิดธ์

  14. ค่าแอดมิดแตนซ์ที่ขึ้นอยู่กับค่าค่าแอดมิดแตนซ์ที่ขึ้นอยู่กับค่า ขนาดของ ที่จุดเรโซแนนท์คือ ขนาดของ ที่มีค่าเป็น หรือค่าอิมพิแดนซ์ จะทำให้ส่วนจินตภาพมีค่าขนาดเป็นหนึ่ง

  15. หาค่าแบนด์วิธดิ์ และ และ • BW แปรผกผันกับค่า • วงจรมีค่า สูงจะต้องกำหนดให้ BW ที่แคบๆ • รูปกราฟของผลตอบสนองจะต้องแหลมคมมากๆเพื่อให้วงจรเป็นวงจรเรโซแนนท์ ที่มีคุณภาพดี

  16. การประมาณค่าสำหรับวงจรที่มีตัวประกอบคุณภาพสูงการประมาณค่าสำหรับวงจรที่มีตัวประกอบคุณภาพสูง วงจรเรโซแนนท์ที่ต้องการออกแบบให้ค่า สูงๆเพื่อที่จะทำให้ BW แคบๆ และ BW= เมื่อ เขียนสมการ ความถี่เรโซแนนท์ที่ สูง

  17. ฟังก์ชันโครงข่ายของวงจรเรโซแนนท์แบบขนานฟังก์ชันโครงข่ายของวงจรเรโซแนนท์แบบขนาน ฟังก์ชันโครงข่าย (Network function)หรือฟังก์ชันถ่ายโอน (Transfer function) ในโดเมน s โดยการแทนด้วย ฟังก์ชันโครงข่ายคืออัตราส่วนของเอาท์พุทต่ออินพุทในโดเมนความถี่อธิบายพฤติกรรม ของวงจรที่ขึ้นอยู่กับความถี่ของสัญญาณอินพุทที่เป็นสัญญาณไซน์ เฟสเซอร์ของสัญญาณอินพุทอาจจะเป็นแรงดันหรือกระแส เฟสเซอร์ของผลตอบสนองที่สภาวะคงตัว ฟังก์ชันโครงข่าย • ขนาดหรืออัตราการขยาย • มุมเฟส

  18. ฟังก์ชันโครงข่ายของวงจรเรโซแนนท์แบบขนานฟังก์ชันโครงข่ายของวงจรเรโซแนนท์แบบขนาน กำหนดให้เอาท์พุทเป็นกระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทานและอินพุทเป็นแหล่งจ่ายกระแส KCL ที่โหนดข้างบน อิมพิแดนซ์

  19. ฟังก์ชันโครงข่าย ขนาด มุมเฟส

  20. เฟสเซอร์ไดอะแกรมของวงจรขนาน RLC วงจรเสมือนประกอบด้วยตัวต้านทาน วงจรเสมือนประกอบด้วยตัวเก็บประจุและตัวต้านทาน วงจรเสมือนประกอบด้วยตัวเหนี่ยวนำและตัวต้านทาน

  21. ตัวอย่างที่ 1 วงจรเรโซแนนท์แบบขนาน RLC ที่มีค่าความถี่เรโซแนนท์ และ (ก) จงหาค่าของ และ และ โดยวิธีประมาณ (ข) จงหาค่าของ วิธีทำ

  22. การประมาณค่าความถี่

  23. ขนาดของแรงดันอินพุทมีค่าเป็น 1 V ตัวอย่างที่ 2 กำหนดให้ (ก) จงหาฟังก์ชันถ่ายโอน ประกอบด้วยขนาดและมุมเฟส ที่ความถี่ และ (ข) จงหาค่าแบนด์วิธด์ของวงจร วิธีทำ ฟังก์ชันถ่ายโอน เมื่อ แบนด์วิธดิ์

  24. และ BW เมื่อกำหนดให้ ตัวอย่างที่ 3 วงจรเรโซแนนท์แบบขนานจงหาค่า วิธีทำ หาค่าความถี่เรโซแนนท์ หาค่าตัวประกอบคุณภาพ หาค่าแบนด์วิดธิ์ ตัวอย่างที่ 4 วงจรเรโซแนนท์แนนขนาน ต้องการความถี่เรโซแนนท์ที่ มีแบนด์วิดธิ์เป็น และ จงหาค่า เมื่อ วิธีทำ หาค่าตัวประกอบคุณภาพ ค่าความเหนี่ยวนำ

  25. วงจรเรโซแนนท์แบบอนุกรม (Series resonant Circuit) ฟังก์ชันโครงข่าย กำหนดให้แรงดันตกคร่อมตัวต้านทานเป็นเอาท์พุทและแหล่งจ่ายแรงดันเป็นอินพุท อิมพิแดนซ์

  26. การเกิดเรโซแนนท์เมื่อส่วนจินตภาพของอิมพิแดนซ์มีค่าเป็นศูนย์วงจรเรโซแนนท์แบบขนาน ความถี่เรโซแนนท์ เฟสเซอร์ไดอะแกรมของวงจรอนุกรม วงจรเสมือนประกอบด้วยตัวเหนี่ยวนำและตัวต้านทาน วงจรเสมือนประกอบด้วยตัวต้านทาน วงจรเสมือนประกอบด้วยตัวเก็บประจุและตัวต้านทาน

  27. ตัวประกอบคุณภาพ พลังงานที่สะสมทั้งหมด พลังงานที่สูญเสียในหนึ่งรอบการทำงานคือกำลังไฟฟ้าเฉลี่ยหารด้วยความถี่เรโซแนนท์ ตัวประกอบคุณภาพ เมื่อ และ

  28. ฟังก์ชันโครงข่าย เมื่อ และ ฟังก์ชันโครงข่ายของวงจรเรโซแนนท์แบบอนุกรมมีค่าเท่ากับ ฟังก์ชันโครงข่ายของวงจรเรโซแนนท์แบบขนาน แต่ค่าตัวประกอบคุณภาพจะแตกต่างกัน ส่วนความสัมพันธ์ของแบนด์วิดธิ์ยังคงเหมือนเดิมทั้งสองวงจร

  29. ตัวอย่างที่ 5 วงจรเรโซแนนท์แบบอนุกรม เมื่อกำหนดให้แบนด์วิดธิ์เป็น และ จงหาค่า และ วิธีทำ หาค่าความถี่เรโซแนนท์ หาค่า หาค่า

  30. ตัวอย่างที่ 6 วงจรเรโซแนนท์แบบอนุกรมที่ตัวเหนี่ยวนำมีค่าเป็น (ก)จงเลือกค่า และ ที่ทำให้ความถี่เรโซแนนท์มีค่าเป็น และแบนด์วิดธิ์เป็น เมื่อสัญญาณอินพุทมีความถี่ (ข)จงหาฟังก์ชันโครงข่าย วิธีทำ (ก) (ข)

  31. บทสรุปสัปดาห์ที่ 13 การตอบสนองต่อความถี่ • พฤติกรรมของวงจรเชิงเส้นที่มีแหล่งจ่ายเป็นสัญญาณไซน์ ขึ้นกับความถี่ของสัญญาณอินพุท • ผลตอบสนองต่อความถี่ของวงจรที่ประกอบด้วยขนาดและมุมเฟส • วงจรเรโซแนนท์เป็นวงจรที่มีอุปกรณ์แบบรีแอคทีฟทำหน้าที่ เป็นเสมือนตัวต้านทานในวงจรที่ความถี่เรโซแนนท์ • วงจรเรโซแนนท์อธิบายถึงความถี่เรโซแนนท์ คุณภาพของวงจร และแบนวิธดิ์

More Related