1 / 95

Introduction to Computer

Introduction to Computer. By…Suthida Chaichomchuen std@kmitnb.ac.th. What is Computer?. อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการจัดการกับข้อมูล (ตัวเลข ตัวอักษร สัญลักษณ์) โดยมีคุณสมบัติที่สำคัญคือสามารถกำหนดชุดคำสั่งล่วงหน้าหรือโปรแกรมได้. คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์.

Download Presentation

Introduction to Computer

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Introduction to Computer By…Suthida Chaichomchuen std@kmitnb.ac.th

  2. What is Computer? อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการจัดการกับข้อมูล (ตัวเลข ตัวอักษร สัญลักษณ์) โดยมีคุณสมบัติที่สำคัญคือสามารถกำหนดชุดคำสั่งล่วงหน้าหรือโปรแกรมได้

  3. คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ • ความเร็ว • ความน่าเชื่อถือ • ความเที่ยงตรงและแม่นยำ • จัดเก็บข้อมูลได้ปริมาณมาก • ความสามารถในการสื่อสารและเครือข่าย

  4. ชนิดของคอมพิวเตอร์ • Supercomputers • Mainframe Computers • Minicomputers • Workstations • Microcomputers

  5. Supercomputer • ขนาดใหญ่ที่สุด, ทำงานรวดเร็ว, ประสิทธิภาพสูง, ราคาแพง • ใช้ในงานที่มีการคำนวณที่ซับซ้อน เช่น การวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์และวิศวกรรม การพยากรณ์อากาศ การบิน ฯลฯ • มีความรวดเร็วในการคำนวณได้มากกว่า 1 ล้านล้านครั้งต่อวินาที (1 Trillion calculations per second)

  6. Supercomputer • รองรับโปรเซสเซอร์ได้มากกว่า 100 ตัว • หน่วยวัดความเร็วเป็น กิกะฟลอป (Gigaflop)

  7. Mainframe Computer • มีประสิทธิภาพรองลงมาจาก Super Computer • ใช้ตามหน่วยงานธุรกิจขนาดใหญ่ ที่มีการรับและแสดงผลข้อมูลจำนวนมาก ๆ • ใช้การทำงานแบบ Time sharing, Multiuser, Centralized Data Procesing

  8. Mainframe Computer • สามารถรองรับการใช้งานของ user ได้มากกว่า 50000 user และประมวลผลได้มากกว่า 1,600,000,000 ล้านชุดคำสั่งต่อวินาที • หน่วยวัดความเร็วเป็น megaflop (คำนวณ 1 ล้านครั้งใน 1 วินาที)

  9. Minicomputer • หลักการทำงานเช่นเดียวกับเครื่อง Mainframe • การเร็วในทำงาน, การควบคุมผู้ใช้งานต่าง ๆ และสื่อที่เก็บข้อมูลมีความจุต่ำกว่าเครื่อง Mainframe

  10. Workstation • มีระดับความสามารถในการประมวลผลเทียบชั้นกับ Minicomputers • ใช้สถาปัตยกรรมชิปประมวลผลแบบ RISC (Reduced Instruction Set Computer) ซึ่งมีการประมวลผลที่รวดเร็ว • มักใช้ระบบปฏิบัติการ UNIX เป็นหลักสำคัญ

  11. Workstation • นิยมใช้กับงานด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และการออกแบบกราฟิกแอนนิเมชั่น • สามารถขยายหน่วยความจำหลักได้มากกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ • มีระบบการแสดงผลและจอภาพที่มีความละเอียดสูงมาก

  12. Microcomputer • เรียกอีกชื่อว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer: PC) • ขนาดเล็ก มีความคล่องตัวสูง เคลื่อนย้ายง่าย ราคาถูก ประสิทธิภาพสูง • ผู้ใช้สามารถควบคุมอุปกรณ์รอบข้างต่าง ๆ ได้ • ผู้ใช้สามารถเลือกใช้โปรแกรมได้เอง

  13. Microcomputer ในปัจจุบัน • PC : Personal Computer • Notebook Computer • PDA : Personal Digital Assistants • Pocket PC • Handhelds PC • Palm Computer

  14. การจำแนกผู้ใช้งาน (user) • Home User • Small Office/Home Office User : SOHO • Mobile User • Large Business User • Power User

  15. งานที่นำคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้งานที่นำคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ • งานด้านสถานีอวกาศ • งานด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ • งานด้านธุรกิจทั่วไป • งานด้านการศึกษาและวิจัย • งานด้านการออกแบบทางวิศวกรรม • งานอุตสาหกรรมและหุ่นยนต์ • การเก็บประวัติอาชญากร • งานด้านบันเทิงต่าง ๆ

  16. ยุคของคอมพิวเตอร์ • ยุคที่ 1 : Vacuum Tubes • ยุคที่ 2 : Transistors • ยุคที่ 3 : Integrated Circuit : IC • ยุคที่ 4 : Large-Scale Integration: LSI • ยุคที่ 5 : Very Large-Scale Integration: VLSI

  17. ยุคที่ 1 (1951-1958) • ใช้หลอดสุญญากาศเป็นหน่วยประมวลผลกลาง • ใช้ดรัมแม่เหล็กเป็นหน่วยความจำหลัก • ใช้บัตรเจาะรูเป็นหน่วยความจำสำรอง • ใช้ภาษาเครื่องในการควบคุมการทำงาน

  18. ยุคที่ 1 • มีขนาดใหญ่โตมาก เนื่องจากมีหลอดสุญญากาศหลายหมื่นหลอด • เกิดความร้อนในการทำงานสูงมาก • มีความน่าเชื่อถือต่ำ • คอมพิวเตอร์ในยุคนี้เริ่มนับจาก UNIVAC I (UNIVersal Automatic Computer I) เป็นต้นมา

  19. ยุคที่ 2 (1958-1964) • ใช้วงจรทรานซิสเตอร์ทดแทนหลอดสุญญากาศ ซึ่งมีคุณสมบัติ • เป็นสวิตซ์ที่มีขนาดเล็ก • ใช้พลังงานไฟฟ้าน้อย • ประมวลผลรวดเร็ว • มีความน่าเชื่อถือมากกว่าหลอดสุญญากาศ • ใช้วงแหวนแม่เหล็กเป็นหน่วยความจำหลัก

  20. ยุคที่ 2 • ใช้บัตรเจาะรู เทปแม่เหล็ก เป็นหน่วยความจำสำรอง และมีการใช้ จานดิสก์ ในปลายยุค • ใช้ระบบปฏิบัติการแบบ Batch Processing • ใช้ภาษาสัญลักษณ์ในการควบคุมการทำงาน และมีการพัฒนาภาษาระดับสูงได้แก่ FORTRAN COBOL

  21. ยุคที่ 2 • คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ได้แก่ • IBM-7090 • IBM-7070 • IBM-1401 • UNIVAC • LARD • CDC 1604 • Philco2000

  22. ยุคที่ 3 (1965-1971) • มีการค้นพบเทคโนโลยีโซลิตสเตต (Solid-State) ซึ่งได้เป็นวงจร IC (Integrated Circuit) ขึ้นมา • เป็นที่มาของเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ • ใช้ภาษาระดับสูงอย่างแพร่หลาย มีการใช้ภาษาเบสิก ภาษาปาสคาล และตัวแปลภาษาเกิดขึ้น • ใช้วงแหวนแม่เหล็กเป็นหน่วยความจำหลัก

  23. ยุคที่ 3 • ใช้ดิสก์และจานแม่เหล็กเป็นหน่วยความจำสำรอง • ใช้ระบบปฏิบัติการแบบ Multi-Programming และระบบ Time-Sharing • เป็นยุคแห่งการประมวลผลข้อมูล (Data Processing) • คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ได้แก่ System360

  24. ยุคที่ 4 (1972-1978) • ใช้เทคโนโลยี LSI (Large-Scale Integration) • เริ่มใช้ไมโครโปรเซสเซอร์ 8080 • เกิดเครื่อง IBM-PC • ในยุคนี้มีการสร้างเครื่อง Supercomputer ชื่อ CRAY-1 และ CRAY X-MP ซึ่งมีความเร็วในการประมวลผล 100 ล้านคำสั่งต่อวินาที

  25. ยุคที่ 4 • มีการพัฒนาภาษา 4GL (Fourth GL) • มีเครื่องมือช่วยในการพัฒนาโปรแกรม (CASE Tools) • เกิดเทคโนโลยีฐานข้อมูล และระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS)

  26. ยุคที่ 5 (1979-ปัจจุบัน) • ใช้เทคโนโลยี VLSI (Very Large-Scale Integration) • ชิปในยุคนี้มีความสามารถเทียบเท่ากับ Mainframe Computer ในยุคก่อน ๆ • เทคโนโลยีชิปพัฒนาด้วยการ ลดขนาดลง และภายในสามารถบรรจุจำนวนทรานซิสเตอร์ได้มากขึ้น

  27. ยุคที่ 5 • เป็นยุคที่นำคอมพิวเตอร์มาประยุกต์กับงาน • ด้านฐานความรู้ (Knowledge Base) • ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) • ระบบปัญญาประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence)

  28. Computer System

  29. ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ • Hardware • Software • Peopleware • Data

  30. Hardware • ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์รอบข้างที่เกี่ยวข้องต่าง ๆที่สามารถสัมผัสได้ด้วยมือ

  31. Hardware

  32. ส่วนประกอบทางด้าน Hardware • Input Devices • Central Processing Unit • Memory • Output Devices • Storage

  33. ความสัมพันธ์ของ Hardware

  34. Hardware :Input devices ทำหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่หน่วยความจำหลัก

  35. Hardware : Input devices • Keyed Device • Pointing Devices • Touch-Sensitive Screen • Pen-Based System • Data Scanning Devices • Voice Recognition Devices

  36. Input devices : Keyed Device • Keyboard : มีลักษณะคล้ายแป้นพิมพ์ดีด แต่มีจำนวนแป้นมากกว่า แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม • Character Keys • Control Keys • Function Keys • Numeric Keys

  37. Input devices : Pointing Devices • Mouse • มีลูกกลมกลิ้งอยู่ด้านล่าง หรือเป็นระบบแสง • ด้านบนจะมีปุ่มให้กด 2 หรือ 3 ปุ่ม • ส่งข้อมูลเข้าสู่หน่วยความจำโดยการเลื่อนเมาส์ให้ลูกกลมด้านล่างหมุน เพื่อเป็นการเลื่อนตำแหน่งตัวชี้

  38. Input devices : Pointing Devices • Track Ball • มีลักษณะเป็นลูกบอลเล็ก ๆ วางอยู่หน้าจอภาพ • เลื่อนตำแหน่งของตัวชี้ได้โดยการหมุนลูกบอล • Track Point • เป็นแท่งพลาสติกเล็ก ๆ อยู่ตรงกลางแป้นพิมพ์ • บังคับโดยใช้นิ้วหัวแม่มือเลื่อนตำแหน่งตัวชี้

  39. Input devices : Pointing Devices • Touch Pad • เป็นแผ่นสี่เหลี่ยมวางอยู่หน้าแป้นพิมพ์ • ใช้นิ้ววาดเพื่อเลื่อนตำแหน่งของตัวชี้ • Joy Stick • เป็นก้านสำหรับใช้โยกขึ้น/ลงซ้ายขวาเพื่อย้ายตำแหน่งของตัวชี้

  40. Input devices : Touch-Sensitive Screen • Touch Screen • เป็นจอภาพแบบพิเศษ โดยผู้ใช้แตะปลายนิ้วลงบนจอภาพในตำแหน่งที่กำหนด เพื่อเลือกการทำงานที่ต้องการ

  41. Input devices : Pen-Based System • Light Pen • ใช้เซลล์แบบ photoelectric ซึ่งมีความไวต่อแสงเป็นตัวกำหนดตำแหน่งบนจอภาพ • ใช้งานโดยการแตะปากกาแสงไปบนจอภาพตามตำแหน่งที่ต้องการ

  42. Input devices : Pen-Based System • Digitizing Tablet • ประกอบด้วยกระดาษที่มีเส้นแบ่ง (Grid) และใช้ปากกาเฉพาะ (Stylus) ชี้ไปบนกระดาษ เพื่อส่งข้อมูลตำแหน่งเข้าไปคอมพิวเตอร์

  43. Input devices : Data Scanning Devices • Barcode Reader • พิมพ์รหัสสินค้าออกมาในรูปของแถบสีดำและขาวต่อเนื่องกันไป • ใช้ Barcode Reader อ่านข้อมูลบนแถบ Barcode เพื่อเรียกข้อมูลของรายการสินค้า

  44. Input devices : Data Scanning Devices • Scanner • ใช้อ่านหรือ scan ข้อมูลบนเอกสารเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ • โดยส่องแสงไปยังวัตถุ แล้วตรวจจับความเข้มของแสงที่สะท้อนกลับมา

  45. Input devices : Data Scanning Devices • Digital Camera • ใช้สำหรับถ่ายภาพแบบไม่ต้องใช้ฟิล์ม • ภาพที่ถ่ายจะเก็บในลักษณะดิจิตอล • Digital Video • ใช้สำหรับบันทึกภาพเคลื่อนไหว • เก็บข้อมูลเป็นแบบดิจิตอล

  46. Input devices : Voice Recognition Device • Speech Recognition Device • เป็นอุปกรณ์ที่ใช้รับสัญญาณเสียงและแปลงเป็นสัญญาณดิจิตอลเก็บเป็นข้อมูลไว้ในคอมพิวเตอร์

  47. Hardware :Central Processing Unit

  48. Hardware :CPU • เปรียบเสมือนสมองของระบบคอมพิวเตอร์ • เป็นหน่วยที่มีความซับซ้อนมากที่สุด • เป็นตัวกำหนดความเร็วของเครื่อง

  49. Hardware :องค์ประกอบของ CPU • วงจรใน CPU เรียกว่า Microprocessor ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ • Control Unit : ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งระบบ • Arithmetic and Logical Unit (ALU) : ทำหน้าที่ประมวลผลการคำนวณทางคณิตศาสตร์ และการเปรียบเทียบทางตรรก

  50. Hardware :องค์ประกอบของ CPU • มี Register ทำหน้าที่เก็บและถ่ายทอดข้อมูลหรือคำสั่งที่ถูกนำเข้ามาปฏิบัติการใน CPU • มี Bus เป็นเส้นทางในการส่งผ่านสัญญาณไฟฟ้าของหน่วยต่าง ๆ ภายในระบบ

More Related