1 / 7

จัดทำโดย นาย วัฒนพงษ์ เมฆสว่าง ม.5/3 เลขที่ 27 นาย เชิดพงษ์ พิมพ์มีลาย ม.5/3 เลขที่ 30

พันธุ์ข้าวพิษณุโลก2. จัดทำโดย นาย วัฒนพงษ์ เมฆสว่าง ม.5/3 เลขที่ 27 นาย เชิดพงษ์ พิมพ์มีลาย ม.5/3 เลขที่ 30. ข้าวพิษณุโลก2.

becky
Download Presentation

จัดทำโดย นาย วัฒนพงษ์ เมฆสว่าง ม.5/3 เลขที่ 27 นาย เชิดพงษ์ พิมพ์มีลาย ม.5/3 เลขที่ 30

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พันธุ์ข้าวพิษณุโลก2 จัดทำโดย นาย วัฒนพงษ์ เมฆสว่าง ม.5/3 เลขที่ 27 นาย เชิดพงษ์ พิมพ์มีลาย ม.5/3 เลขที่ 30

  2. ข้าวพิษณุโลก2 1.ลักษณะประจำพันธุ์ -เป็นข้าวเจ้า สูงประมาณ 114 เซนติเมตร -ไม่ไวต่อช่วงแสง -อายุเก็บเกี่ยว 119-121 วัน -ทรงกอตั้ง ใบสีเขียวเข้ม ใบธงตั้ง รวงแน่นปานกลาง ระแง้ค่อนข้างถี่ คอรวงสั้น ฟางแข็ง ใบแก่ช้า -เมล็ดข้าวเปลือกสีฟาง -ระยะพักตัวของเมล็ดประมาณ 8 สัปดาห์ -เมล็ดข้าวเปลือก ยาว x กว้าง x หนา = 10.5 x 2.5 x 1.9 มิลลิเมตร -เมล็ดข้าวกล้อง ยาว x กว้าง x หนา = 7.9 x 2.1 x 1.6 มิลลิเมตร -ปริมาณอมิโลส 28.6 % -คุณภาพข้าวสุก ร่วน แข็ง 2.ผลผลิตประมาณ 807 กิโลกรัมต่อไร่ 3.ลักษณะเด่นผลผลิตสูง และมีเสถียรภาพในการให้ผลผลิต 4.ข้อควรระวังไม่ต้านทานโรคไหม้ และโรคใบหงิก ไม่ต้านทานแมลงบั่ว

  3. การผสมพันธุ์ ได้จากการผสมพันธุ์ 3 ทาง ระหว่างสายพันธุ์ CNTLR81122-PSL-37-2-1 และ SPRLR81041-195-2-1กับ ไออาร์56 ที่ศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลก ปี พ.ศ. 2533-2534 ปลูกคัดเลือกจนได้สายพันธุ์ PSL91014-16-1-5-1

  4. ประโยชน์1.มีความต้านทานต่อเพลี้ย2.สามารถปลูกในภาคเหนือตอนล่างได้ดี3.ได้ผลผลิตสูงและดีประโยชน์1.มีความต้านทานต่อเพลี้ย2.สามารถปลูกในภาคเหนือตอนล่างได้ดี3.ได้ผลผลิตสูงและดี

  5. ประเด็นหลัก1.ในภาคเหนือตอนล่างมีเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล เพลี้ยกระโดดหลังขาว และเพลี้ยจักจั่นสีเขียวเป็นจำนวนมาก2.ความเสียหายจากเพลี้ยที่มากัดกินข้าวของชาวนา3.ผสมพันธุ์มาเพื่อต้านทานเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล เพลี้ยกระโดดหลังขาว และเพลี้ยจักจั่นสีเขียว

  6. พันธุ์ข้าวพิษณุโลก2

  7. แหล่งอ้างอิง http://brrd.in.th/rvdb/index.php?option=com_content&view=article&id=82:phitsanulok-2&catid=34:non-photosensitive-lowland-rice&Itemid=55 http://guru.thaibizcenter.com/articledetail.asp?kid=4744

More Related