360 likes | 812 Views
สำนักวิจัยนโยบายสร้างเสริมสุขภาพ. เครือข่ายควบคุมโรคไม่ติดต่อ. สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ.
E N D
สำนักวิจัยนโยบายสร้างเสริมสุขภาพสำนักวิจัยนโยบายสร้างเสริมสุขภาพ • เครือข่ายควบคุมโรคไม่ติดต่อ • สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ “กรอบการติดตามความก้าวหน้าตัวชี้วัดระดับโลกและเป้าหมายแบบสมัครใจ”ในการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ (NCDs)A comprehensive global monitoring framework,including indicators, and a set of voluntary global targets for the Prevention & Control of NCDs • ภญ.อรทัย วลีวงศ์ • นพ.ภูษิต ประคองสาย • สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ
สถานการณ์ NCDs ในระดับโลก • NCDs caused 36 million deaths (60 %) of global deaths (2008) • 80% of these occur in developing countries จำนวนการเสียชีวิตของประชากรโลก 25 million 2.3M Injuries 6.8 M Other deaths from NCDs 20 million 2.3M Premature deaths from NCDs(below age of 60), which are preventable 3.7M 15 million 10.2M 13.6M 10 million Communicable diseases, maternal, perinatal and nutritional conditions 0.5M 5.9M 0.6M 3.3 M 3.3M 3.0M 3.0M 1.1M 0.9M Upper middle-income Low-income countries Lower middle-income High-income countries Source: The Global Burden of Disease 2004
สาเหตุการเสียชีวิตของประชากรโลก พ.ศ. 2533 และ พ.ศ. 2553 NCDs
4x4x4 4 ฆาตรกรหัวโจก 4 พฤติกรรมเสี่ยง โรคหัวใจและ หลอดเลือด ดื่มเหล้า สูบบุหรี่ โรคเบาหวาน กินอาหาร ไม่เหมาะสม โรคมะเร็ง โรคปอดเรื้อรัง ถุงลมโป่งพอง ออกกำลังกาย ไม่เพียงพอ 4 ระเบิดเวลา (โรคเมตาโบลิก) อาการแสดง การเปลี่ยนแปลงร่างกาย ก่อนเกิดโรค NCDS ความดันโลหิตสูง น้ำตาลในเลือดสูง ไขมันในเลือดผิดปกติ น้ำหนักเกินและโรคอ้วน
การเสียชีวิตและปีสุขภาวะที่สูญเสียไป (DALYs) ของโลก โรค NCDs และปัจจัยเสี่ยงหลักพ.ศ. 2553
Global Risks Landscape 2013 (World Economic Forum) Impact if the risk were to occur The Dangers of Hubris on Human Health • ความเสี่ยงต่อสุขภาพของมนุษยชาติ • การเพิ่มขึ้นของ NCDs • โรคระบาด • การดื้อยาปฏิชีวนะ • ผลกระทบจากเทคโนโลยี • สิทธิบัตร Likelihood to occur in the next
What is driving the NCD epidemic? SocialDeterminants of Health
NCDs กับ ความยากจน คนรายได้น้อยมีสัดส่วนค่าใช้จ่ายของการมีพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพมากกว่าคนรวย คนยากจนจะสูญเสียความสามารถในการหารายได้มากกว่า คนยากจนมีศักยภาพในการจัดการปัญหา/ควบคุมรักษาโรคได้น้อยกว่า
Cost of inaction Vs Cost of action The average cost for LMICs to scale up action by implementing the “best buy interventions” US$ 170 billion for 2011-2025 US$ 11.4 billion per year US$1 per capita in LICs, 1.5 in LMICs & 3 in UMICs • The cumulative economic lost output in developing countries associated with NCDs • US$ 7 trillion • over 2011-2025 • US$ 500 billion per year • US$ 25 in LICs, 50 in LMICs & 139 in UMICs
Global action against NCDs UNGA High-level Meeting on the prevention and control of NCDs A/RES/66/2 ECOSOC • WHA61.14 Doha Declaration on NCD & Injuries Action Plan on the Global Strategy for the Prevention and Control of NCDs 2008-2013 Political Declaration on NCDs • WHA64.11 Moscow Declaration • WHA60.23 • WHA57.17 Implementation Global Strategy WHO Global Status Report on NCDs Global Strategy on Diet, Physical Activity and Health • WHA63.14 • WHA63.13 Marketing of food & non-alcoholic beverages to children Global Strategy to Reduce the Harmful Use of Alcohol • WHA66.10 A Comprehensive global monitoring framework • WHA56.1 • WHA53.17 Global Action Plan 2013-2020 Global Strategy for the Prevention and Control of NCDs Options & timeline for strengthening and facilitating multisectoral action 2007 2013 2003 2004 2009 2000 2008 2010 2011
UNGA High-level Meeting on the prevention and control of NCDs Political Declaration on NCDs (A66/RES/2) • Establish multisectoral national plans by 2013 • Integrate NCDs into health-planning processes and the national development agenda • Promote multisectoral action through whole-of-government approaches • Set national targets and measure results • Increase domestic resources • Head quarter • WHO Regional Offices • Member states • Develop a global monitoring framework and targets • Develop a global implementation plan 2013-2020 • Provide technical support to developing countries • Identify options for multisectoral actions • Coordinate work with other UN Agencies • Measure results and report
Global monitoring framework for NCDs “25 ตัวชี้วัดระดับโลก” 13
Set of 9voluntary global NCD targets for 2025 (2010 – 2025) Report every 5 years, in 2015, 2020 & 2025 14
NCDs ป้องกันได้ Thepackage of low-cost "best buys" interventions exist , but implementation in developing countries is still weak
“Best buys”: ในระบบบริการสุขภาพ (มาตรการระดับบุคคล) • Early detection & care, using cost-effective & sustainable health-care interventions >> integrate into primary health care
Implementing low-cost workable solutions in developing countries could prevent most premature deaths from NCDs • ลดอัตราการตายก่อนวัยอันควรจาก NCDs • 2/3 + 1/3 • (มาตรการเพื่อจัดการปัจจัยเสี่ยง) + (การจัดบริการสุขภาพ) • Implementing cost-effective interventions that reduce exposure to NCDs risk factors of populations will contribute up to 2/3 of the reduction in premature mortality. • In addition, health systems that respond more effectively and equitably to the health-care needs of people with NCDs can reduce premature mortality by another 1/3up to 1/2.
รายงานสถานการณ์ (2557)โรค NCDs:วิกฤตสุขภาพ วิกฤตสังคม 1. โรค NCDs คือฆาตกรอันดับหนึ่ง 2. โรค NCDs คือวิกฤตของสังคม 3. วิกฤตโรค NCDs จะขยายตัวหากไม่ทำอะไรจริงจัง 4. มาตรการป้องกันโรค NCDs คือการลงทุนที่คุ้มค่า 5. สังคมไทยยังไม่ได้จัดการกับ โรค NCDs อย่างที่ควรเป็น http://thaincdnet.com/
สาเหตุการเสียชีวิตของประชากรไทย พ.ศ. 2552 เสียชีวิตเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 8,054 คนต่อปี (จาก 233,797 คนในปี 2542) รายงานภาระโรคและการบาดเจ็บของประชากรไทย พ.ศ. 2552
คนไทยป่วยเป็น NCDs แต่ไม่รู้ตัว ผู้ชาย 60% & ผู้หญิง 41% เป็นความดันโลหิตสูงแต่ไม่รู้ตัว ผู้ชาย 43% & ผู้หญิง 22% เป็นเบาหวานแต่ไม่รู้ตัว
สถานการณ์อ้างอิง และ สถานการณ์เป้าหมายปี 2568 ตามเป้าหมายระดับโลก ของการควบคุมและป้องกัน NCDs ในประเทศไทย พร้อมแหล่งข้อมูลและวิธีการวัด
สถานการณ์อ้างอิง และ สถานการณ์เป้าหมายปี 2568 ตามเป้าหมายระดับโลก ของการควบคุมและป้องกัน NCDs ในประเทศไทย พร้อมแหล่งข้อมูลและวิธีการวัด
สถานการณ์อ้างอิง และ สถานการณ์เป้าหมายปี 2568 ตามเป้าหมายระดับโลก ของการควบคุมและป้องกัน NCDs ในประเทศไทย พร้อมแหล่งข้อมูลและวิธีการวัด
สถานการณ์อ้างอิง และ สถานการณ์เป้าหมายปี 2568 ตามเป้าหมายระดับโลก ของการควบคุมและป้องกัน NCDs ในประเทศไทย พร้อมแหล่งข้อมูลและวิธีการวัด ที่มา: รายงานการทบทวนแหล่งข้อมูลและตัวชี้วัดระดับโลกการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อของประเทศไทย โดย เครือข่ายควบคุมโรคไม่ติดต่อ และสำนักโรคไม่ติดต่อ เ รียบเรียงโดย: สำนักวิจัยนโยบายสร้างเสริมสุขภาพ
What next? • ตัวชี้วัด NCDs ระดับชาติ • อะไร? เป้าหมายเท่าไหร่? บรรลุเมื่อไหร่? • ระบบเฝ้าระวังและติดตาม (ระบบรายงานของประเทศ) • การวัด/เครื่องมือ/การเก็บข้อมูล • ฐานข้อมูล • หน่วยงานที่จะรายงาน • ตัวชี้วัดอื่น ๆ (เช่น ตัวชี้วัดระดับจังหวัด, หน่วยงาน)
รายงานสถานการณ์การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในระดับจังหวัด 2554 จังหวัดที่มีความชุกของนักดื่มในประชากรผู้ใหญ่ (อายุ 15 ปีขึ้นไป)