1 / 82

การดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพอย่างยั่งยืน

การดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพอย่างยั่งยืน. ประเด็นนำเสนอ. สุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพ ปัญหาการดำเนินงาน ทิศทาง ๒๕๕๖ อำเภอสุขภาพดี ๘๐ ปี ยังแจ๋ว สรุป. สุขภาพ. สุขภาพ. ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางกาย ทางจิต ทางปัญญา และทางสังคม เชื่อมโยงกันเป็นองค์รวมอย่างสมดุล.

berk-holt
Download Presentation

การดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพอย่างยั่งยืน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพอย่างยั่งยืนการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพอย่างยั่งยืน

  2. ประเด็นนำเสนอ • สุขภาพ • การส่งเสริมสุขภาพ • ปัญหาการดำเนินงาน • ทิศทาง ๒๕๕๖ • อำเภอสุขภาพดี ๘๐ ปี ยังแจ๋ว • สรุป

  3. สุขภาพ

  4. สุขภาพ ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางกาย ทางจิต ทางปัญญา และทางสังคม เชื่อมโยงกันเป็นองค์รวมอย่างสมดุล (พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550) สุขภาวะ ทางปัญญา สุขภาวะทางสังคม สุขภาวะทางจิต สุขภาวะทางกาย

  5. Social Determinant of Health (SDOH or SDH) รายได้และสถานะ ทางสังคม เครือข่ายการช่วยเหลือ ทางสังคม สิ่งแวดล้อมทางสังคม สิ่งแวดล้อม ทางกายภาพ วัฒนธรรม สุขภาพ = สุขภาวะ เพศ บริการสุขภาพ ปัจจัยทางชีวภาพวิทยา และพันธุกรรม การมีงานทำและ สภาพการทำงาน พฤติกรรมสุขภาพ และทักษะชีวิต การศึกษา พัฒนาการที่ดีในวัยเด็ก (Health Canada)

  6. Classification of determinations of health (Dahlgren and Whitehead, 1991)

  7. ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย อบายมุข กายภาพ กรรมพันธุ์ พฤติกรรม นโยบาย สภาพสิ่งแวดล้อม ปัจจัยด้านปัจเจกบุคคล เศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ การบริการด้านสุขภาพ

  8. พันธุกรรมและชีวภาพ 16% สิ่งแวดล้อม 31% พฤติกรรมของคน 53%

  9. ระบบสุขภาพ ระบบความสัมพันธ์ทั้งมวลที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ ระบบสุขภาพ ระบบสาธารณสุข ระบบบริการ ทางการแพทย์

  10. การส่งเสริม สุขภาพ สุขศึกษา การป้องกันโรค การปกป้องสุขภาพ การรักษา เป็นโรค/เสียชีวิต

  11. The WHO Health Systems Framework ระบบบริการ เข้าถึง คลอบคลุม ความเป็นธรรม กำลังคนด้านสุขภาพ ระบบข้อมูลข่าวสาร ตอบสนองความต้องการ เทคโนโลยีทางการแพทย์ กันความเสี่ยงสังคม&การเงิน ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ ประสิทธิภาพการบริการ ภาวะผู้นำและธรรมาภิบาล คุณภาพ ความปลอดภัย กรอบระบบสุขภาพ:องค์ประกอบที่พึงประสงค์”

  12. การส่งเสริมสุขภาพ

  13. เศรษฐกิจ การเมือง การส่งเสริมสุขภาพ คือ.... กระบวนการเพิ่มความสามารถ และสมรรถนะ ของทั้งปัจเจกชน และชุมชน ให้สามารถควบคุม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขภาพ เพื่อการมีสุขภาพดี สิ่ง แวดล้อม สังคม

  14. การเสริมพลัง (Empowerment)คือ กระบวนการ ที่ทำให้บุคคล(Individual Empowerment) และชุมชน(Community Empowerment) รับรู้ ว่าเขามีความสามารถมากน้อยเพียงใด ในการควบคุมสถานการณ์ที่เกี่ยวกับตนเอง ชุมชน และสิ่งแวดล้อม เพิ่มพูนทักษะ จนเกิดความรู้สึก มีคุณค่า เชื่อมั่น กล้าตัดสินใจ และดำเนินการ ได้ด้วยตนเอง จากการทำให้ไปสู่การทำได้เอง

  15. Concept of Universal Health Promotion Setting (Where ?) Health determinants that can be changed Effective health services Healthy environ-ment Healthy life style Quality of Life /Health Specific population group (Who?) Specific health issues (Which?) Social activity & influence Health related policies& action Health awareness Effect of health promotion Supporting general condition Social mobilization Education & Training

  16. กฎบัตรออตตาวาว่าด้วย การส่งเสริมสุขภาพ • เพิ่มความสามารถของชุมชน สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ • พัฒนา • ทักษะ • ส่วนบุคคล • Enable • Mediate • Advocate ปรับระบบบริการสุขภาพ สร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ

  17. การจัดทำ นโยบายสาธารณะ เพื่อสุขภาพ การสร้างความ เข้มแข็ง ให้กับชุมชน EMPOWERMENT อยู่ดี การปรับเปลี่ยน ระบบ บริการสุขภาพ การสร้าง สิ่งแวดล้อม ที่เอื้อต่อสุขภาพ EMPOWERMENT การพัฒนา ทักษะ ส่วนบุคคล มีสุข EMPOWERMENT

  18. การจัดทำ นโยบายสาธารณะ เพื่อสุขภาพ การเสริมพลัง ชุมชน อยู่ดี การปรับเปลี่ยน ระบบ บริการสุขภาพ การสร้าง สิ่งแวดล้อม ที่เอื้อต่อสุขภาพ การเสริมพลัง บุคคล มีสุข ความรอบรู้ ด้านสุขภาพ พฤติกรรมและ วิถีชีวิตที่ถูกต้อง

  19. ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) คือ ทักษะต่างๆ ทางการรับรู้และทางสังคม ซึ่งเป็นตัวกำหนดแรงจูงใจและความสามารถของปัจเจกบุคคลในการที่จะเข้าถึง เข้าใจ และใช้ข้อมูลในวิธีการต่างๆ เพื่อส่งเสริมและบำรุงรักษาสุขภาพของตนเองให้ดีอยู่เสมอ องค์การอนามัยโลก (1998)

  20. การขับเคลื่อน การสื่อสาร การพัฒนาศักยภาพ การพัฒนาชุมชน การพัฒนาองค์กร การพัฒนานโยบาย การรู้หนังสือ ผลของการรู้หนังสือ ผลทางอ้อม ความรู้ทั่วไป ความสามารถในการอ่าน การคำนวณ ความสามารถในการฟังและพูด ความสามารถในการทำความเข้าใจ ทักษะการต่อรอง การคิดเชิงวิพากษ์และคัดเลือก วิถีชีวิต การใช้บริการ รายได้ ผลทางตรง (เช่น การใช้ยา การปฏิบัติที่ ปลอดภัย) ปัจจัยกำหนด การศึกษา พัฒนาการในช่วงเด็ก อายุ ศักยภาพของแต่ละบุคคล ภาวะแวดล้อมของที่อยู่/ที่ทำงาน เพศ วัฒนธรรม สถานะ สุขภาพ คุณภาพ ชีวิต ความรอบรู้ด้านสุขภาพ ความสามารถในการค้นหา ทำความ เข้าใจและสื่อสารข้อมูลด้านสุขภาพ ความสามารถเข้าถึงข้อมูลด้านสุขภาพ สิ่งแวดล้อมใน การทำงาน ระดับความเครียด ความรู้อื่นๆ วิทยาศาสตร์, คอมพิวเตอร์, วัฒนธรรม, สื่อ ฯลฯ ผลทางอ้อม ดัดแปลงจากHealth Literacy Conceptual Framework (Rootman,2005)

  21. ความรอบรู้ด้านสุขภาพ 3 ระดับ • ระดับพื้นฐาน :สมรรถนะในการอ่านและเขียน เพื่อให้สามารถเข้าใจถึงเนื้อหาสาระด้านสุขภาพ • ระดับปฏิสัมพันธ์: สมรรถนะในการใช้ความรู้และการสื่อสาร เพื่อให้สามารถมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ • ระดับวิพากษ์: สมรรถนะในการประเมินสารสนเทศด้านสุขภาพ เพื่อให้สามารถตัดสินใจและเลือกปฏิบัติในการสร้างเสริมและรักษาสุขภาพที่ดีตลอดชีวิต

  22. การปรับกระบวนทัศน์ • ประชาชน ต้องตื่นตัวในการตัดสินใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเอง ไม่ยกความรับผิดชอบในการตัดสินใจให้กับบุคคลอื่น • ผู้ป่วย ต้องได้รับการเสริมพลังให้เข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจจัดการสุขภาพของตน • ผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพ ต้องสร้างการสื่อสารให้เหมาะสมกับความจำเป็นของผู้ป่วย และถือเป็นความรับผิดชอบในการสนับสนุนความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้ป่วย • ผู้กำหนดนโยบาย นำกระบวนทัศน์เรื่องความรอบรู้ด้านสุขภาพเข้าไปอยู่ในการกำหนดนโยบาย การทำวิจัย และวัตถุประสงค์ที่เกี่ยวเนื่องกับสุขภาพของประชาชน

  23. กระบวนการส่งเสริมสุขภาพ กระบวนการส่งเสริมสุขภาพ OUTCOME IMPACT DIMENSIONS STRATEGIES Behavioral Adaptations OTTAWA CHARTER • Health Issues • Population Groups • Key Settings Better Health Quality of Life Environmental Adaptations

  24. กรมอนามัยส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดีกรมอนามัยส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี

  25. 2 4 เป็นศูนย์การพัฒนาขีดความสามารถของเครือข่ายและประชาชน(Training Center) เป็นแกนหลักในการพัฒนาความเข้มแข็งของระบบงาน HP./Env.H. (System Strengthening Center) เป็นแกนหลักในการสร้าง /ผลักดันนโยบายและกฎหมาย (Policy & Regulation Center) 3 POSITIONING กรมอนามัย วิสัยทัศน์ “เป็น องค์กรหลักของประเทศในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี” เป็นหน่วยงานบริหารจัดการระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศ ให้เกิดความเข้มแข็งบนฐานแห่งความรู้ องค์กรหลัก 1 เป็นศูนย์องค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสาร (Knowledge & Communication Center) เป็นผู้แทนประเทศและศูนย์ความร่วมมือระหว่างประเทศ (International Collaboration Center) 5

  26. ประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัยประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัย

  27. ปัญหา

  28. ??? อยู่ดี มีสุข

  29. ทำไมประชาชนส่วนใหญ่ถึงยังไม่ได้รับประโยชน์ทำไมประชาชนส่วนใหญ่ถึงยังไม่ได้รับประโยชน์ • เก่งผลิต outputs or products or ต้นแบบ • แต่ขายไม่ออกหรือขยายผลไม่ออก ทำได้แค่แจกฟรีหรือย้ายโครงการหรือเพิ่มโครงการไปเรื่อยๆ • ย่อมไม่มีกำไรหรือไม่เกิดความยั่งยืน • เกิดแต่ process and output • หรือมีกำไรและoutcomeเกิดขึ้น แต่ก็ไม่มีกระบวนการไปเก็บ • ในที่สุดก็หมดทุน ก็เลยต้องหาทุนไปผลิตoutputอื่นอีกไปเรื่อยๆ • ประชาชนส่วนใหญ่จึงยังไม่ได้รับประโยชน์

  30. POSITIONING กรมอนามัย วิสัยทัศน์ ๑. เป็นผู้อภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพของประเทศ ทำหน้าที่ในการเชื่อมประสานภาคีเครือข่ายเพื่อให้เกิดความเป็นเอกภาพ ๒. เป็นองค์กรวิชาการด้านการส่งเสริมสุขภาพและการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่สร้างองค์ความรู้และเทคโนโลยีที่สอดคล้องกับพฤติกรรมกลุ่มวัย ๓. พัฒนาสมรรถนะและสร้างความเข้มแข็งให้ภาคีเครือข่ายสามารถทำบทบาทหน้าที่ของตนในระบบส่งเสริมสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ “เป็น องค์กรหลักของประเทศในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี” ผู้อภิบาลระบบ FRAGMENTATION 4 การประสานงานและสร้างความร่วมมือ (Collaboration and coalition building) 1 2 3 การกำหนดนโยบาย (Policy guidance) การออกแบบระบบ (System design) การกำกับดูแล (Regulation) 5 6 การสังเคราะห์และใช้ความรู้ และการดูภาพรวม (Intelligence and oversight) การมีความรับผิดชอบ (Accountability)

  31. ปัญหา INDICATORS SYNDROME Indicators ต้นปี Indicators ระหว่างปี เปลี่ยน Indicator ระหว่างปี รักษาโรค มากกว่ารักษาคน

  32. ปัญหา ระบบมาตรฐานการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมของสถานที่ต่างๆ (Settings) ขาดคุณภาพ และความต่อเนื่อง สาเหตุ การดำเนินงานขาดการบูรณาการให้เกิดภาพรวมทั้งระบบ การติดตาม กำกับ ประเมินมาตรฐานขาดความต่อเนื่อง การเฝ้าระวัง วิเคราะห์ข้อมูล และคืนข้อมูลประเด็นปัญหาสุขภาพสู่ผู้เกี่ยวข้องขาดความต่อเนื่อง

  33. ทิศทาง๒๕๕๖

  34. การตรวจราชการฯ ปี 2556 ยุทธศาสตร์การดำเนินงานด้านสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ปี 2556 Basic PP Service Specific Issue Strategic Focus

  35. ยุทธศาสตร์การดำเนินงานด้านสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ปี 2556 การตรวจราชการฯ ปี 2556 # 85 107 KPI Specific Issue # 18 Basic PP Service # 20 Strategic Focus # 69 KPI ระดับจังหวัด # 66 KPI ระดับเครือข่าย # 23+2 (CD)

  36. การตรวจราชการฯ ปี 2556 Specific Issue Strategic Focus & Basic PP Service ผลผลิต กระบวนการ ประสิทธิภาพ การบริหาร จัดการ • KPI 68 ตัว • ส่งเสริมสุขภาพควบคุม • ป้องกันโรค # 45 ตัว • ระบบบริการ #15 ตัว • บริหารจัดการ # 8 ตัว • KPI 17 ตัว • โครงการพระราชดำริ & พื้นที่สูง • ต่างประเทศ & ASEAN • แรงงานต่างด้าว& Border Health • Medical hub & PPP • ยาเสพติด • ปัญหาเฉพาะพื้นที่

  37. การตรวจราชการ & นิเทศงานปี 2556 1. การตรวจติดตามภารกิจหลักของกระทรวง 2. การตรวจติดตามภารกิจเฉพาะและบูรณาการ 1.1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน ควบคุมโรค 1.2 การพัฒนาระบบบริการ สุขภาพ 1.3 การบริหารจัดการ ระบบสุขภาพ 2.1 การตรวจติดตาม ภารกิจเฉพาะ 2.2 การตรวจราชการ แบบบูรณาการ

  38. แผนสุขภาพเขต และ แผนสุขภาพจังหวัด (๒๕ แผนงาน)

  39. บริการ 7 สส ปก 13 บริหาร 5 สุขภาพสตรี และทารก + BS การเงินการคลัง พัฒนาบริการ 10 สาขา สุขภาพเด็ก 0-2 ปี + BS การบริหารกำลังคน-จริยธรรม พัฒนาระบบส่งต่อ สุขภาพเด็ก 3-5 ปี + BS ระบบข้อมูล คุณภาพบริการ สุขภาพเด็กนักเรียน + BS การบริหารเวชภัณฑ์ การแพทย์ฉุกเฉิน/อุบัติภัย สุขภาพวัยรุ่น + BS พัฒนาประสิทธิภาพ ซื้อ/จ้าง สาธารณสุขชายแดน ป้องกันควบคุม NCD (DM&HT) ยาเสพติด ดูแลเฝ้าระวังสตรีไทยจากมะเร็ง โครงการพระราชดำริ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ อาหารปลอดภัย แผนสุขภาพเขต การควบคุมโรคติดต่อ (๒๕ แผน) สิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อสุขภาพ สร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ การมีส่วนร่วมภาคประชาชน

  40. องค์ประกอบของแผนงานส่งเสริมป้องกันกลุ่มวัยองค์ประกอบของแผนงานส่งเสริมป้องกันกลุ่มวัย แผนสุขภาพทารก 0-2 ปี แผนสุขภาพผู้สูงอายุ แผนสตรีตั้งครรภ์คุณภาพ แผนสุขภาพเด็กปฐมวัย 3-5 ปี แผนคัดกรองมะเร็งปากมดลูก/มะเร็ง เต้านม แผนสุขภาพเด็กวัยเรียน (6-12 ปี) และเยาวชน แผนสุขภาพวัยรุ่น แผนป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กาให้บริการหญิงตั้งครรภ์ที่พึงได้รับ -นมแม่ -พัฒนา 4 ด้าน -การเจริญเติบโต -รูปร่าง/ส่วนสูง -สุขภาพช่องปาก -วัคซีน เด็กปฐมวัยมีคุณภาพและบทบาทพ่อ-แม่ในการเลี่ยงดูแลปฐมวัย -พัฒนาการ4ด้าน -การเจริญเติบโต -รูปร่าง/ส่วนสูง -สุขภาพช่องปาก -วัคซีน การเข้าถึงกลุ่มวัยรุ่นกลุ่มเสี่ยง -เพศสัมพันธุ -บุรี แอลกอฮอล์ -ยาเสพติด -พฤติกรรมอารมณ์ คลินิก NCDคุณภาพ (ขยายความครอบคลุมการตรวจภาวะแทรกซ้อน มะเร็งเต้านม -การตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง -การสร้างความตระหนักผ่านสื่อและการประเมิน ดูแลผู้สูงอายุคุณภาพ -เบาหวาน/ ความดัน -โรคซึมเศร้า -เข่าเสื่อม -สุขภาพช่องปาก เด็กนักเรียนมีคุณภาพ 4 ด้าน -พัฒนาการ4ด้าน -เจริญเติบโต รูปร่าง/ส่วนสูง -สุขภาพช่องปาก -วัคซีน คลินิก NCDคุณภาพ (ขยายครอบคลุมการตรวจภาวะแทรกซ้อน) คลินิกวัยรุ่น สถานบริการANC&LR คุณภาพ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ คลินิกบริการผู้สูงอายุ WCC คุณภาพ การเข้าถึงบริการของหญิงตั้งครรภ์ ส่งเสริมบทบาทครอบครัวพ่อ- แม่ชุมชน พัฒนาคุณภาพศูนย์เด็กเล็ก สร้างระบบการดูแลช่วยเหลือ วัยรุ่น เริ่มที่โรงเรียน ลดปัจจัยเสี่ยง ปชก/ชุมชน แกนนำชุมชน อสม เข้มเข็ง อำเภอ/ตำบล80/ยังแจ๋ว

  41. National Programs(NPP) Health Promotion & Prevention Basic Services (PPE) Area Health (PPA) กรอบงานส่งเสริมป้องกัน ตามลักษณะงาน

  42. ข้อสรุปการบริหารงาน PP ระหว่าง สธ.-สปสช. ปี 56 กรอบการบริหารงานร่วมกัน 1. บทบาท สธ. เป็น National Health Authority & Providers ส่วน สปสช. เป็น National Health Security & Purchaser 2. ใช้กลไกที่มีอยู่ ได้แก่ คปสข. และ อปสข. 3. กรอบงาน PP 3 กลุ่ม (Basic Service, National Program, และ Area Health) 4. คงกรอบการบริหารงบ PP ไว้ 5 ส่วน (NPP, PPE, PPA, สนับสนุนส่งเสริม, ทันตกรรมส่งเสริม

  43. นโยบายสุขภาพ สปสช. กรม สป กรม PPNP บูรณาการ สปสช.เขต MOU MOU 8 Flagships (BS, NP) (NP) เขต สธ. PPA 10% งบ UC งบ สธ. แผนยุทธ กำกับติดตาม (949 ล้าน) (6,000 ล้าน) จังหวัด PPA 20% BS, NP, AH อำเภอ PPE 70%

  44. กลไกระดับเขต คทง. ยกร่าง MOU (ฝ่ายละ 5 คน) MOU PPE BS เป้าหมาย / KPI PPA แผนงาน / กลยุทธ NP สนับสนุน M&E การบริหารเงิน PP ทันตกรรม

  45. รายละเอียดแผนสุขภาพเขต/จังหวัดรายละเอียดแผนสุขภาพเขต/จังหวัด 1. ภาพรวมของแผน (สภาพปัญหาในพื้นที่, งบรวมทุกหน่วย/ภาคส่วน, งบแยกรายแผน/งบบริหาร) 2. แผนแก้ไขปัญหา 25 แผน แต่ละแผนประกอบด้วย 2.1 ข้อมูล Baseline 2.2 กลยุทธ / มาตรการสำคัญ (สอดรับแผนกระทรวง) 2.3 งบประมาณที่กระจายลงแผนนั้น แยกตามหน่วยงาน 2.4 ผลลัพท์ตาม KPI ปล. 1) แผนแก้ไขปัญหา ให้จังหวัดจัดทำ ๑ ชุด ใช้ร่วมกัน 2) แผนปฏิบัติงานของหน่วยงาน ให้จัดทำแยกตามหน่วยงาน

  46. บทบาทของจังหวัดที่ควรปรับเปลี่ยนบทบาทของจังหวัดที่ควรปรับเปลี่ยน 1. มองการดูแลสุขภาพ บูรณาการกิจกรรมเป็นกลุ่มวัยแทนที่จะมองเป็นกิจกรรมแยกตามฝ่าย/หน่วยงาน 2. จังหวัดมีหน้าที่กำกับดูแลการดำเนินงาน ทั้งหน่วยงานในสังกัด ท้องถิ่น และภาคส่วนอื่นๆ 3. ตัวชี้วัดเป็นเพียงสะท้อนผลลัพท์ แต่กระบวนการเป็นตัวส่งให้เกิดผลลัพท์ ความชัดเจนของมาตรการดำเนินงานจึงเป็นสิ่งสำคัญ 4. แผนสุขภาพ แตกต่างจาก แผนยุทธศาสตร์ในอดีต

  47. เดิมนโยบาย Top down โครงการ/กิจกรรม Earmark งบประมาณ Change ปี 2556Top down เป้าหมาย/ตัวชี้วัด Lumsum งบประมาณ

  48. ยุทธศาสตร์การดำเนินงานด้านสุขภาพกระทรวงสาธารณสุข ปี 2556 เครือข่าย# 10 แผนตรวจ + MOU # 22 เครือข่าย# 8 (ข้อ 2 4 6 9 13 18 19 20) เครือข่าย # 1 (ข้อ 2) แผนตรวจ+MOU # 22

  49. ยุทธศาสตร์การดำเนินงานด้านสุขภาพกระทรวงสาธารณสุข ปี 2556 ระดับกระทรวง# 3 (ข้อ 1 5 7) แผนตรวจ # 8 MOU # 4

  50. ยุทธศาสตร์การดำเนินงานด้านสุขภาพกระทรวงสาธารณสุข ปี 2556 แผนตรวจ + MOU # 44 เครือข่าย#1 แผนตรวจ # 2 MOU # 2

More Related