750 likes | 1.74k Views
การระงับปวดหลังผ่าตัด. Acute Pain ( Postoperative ) Management. ศ. สมบูรณ์ เทียนทอง. ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. June 2008. ความสำคัญของการระงับปวด การประเมินและบันทึกความปวด IM PRN : ทำอย่างไรให้ได้ดีกว่าเดิม เทคนิคการระงับปวดในปัจจุบัน
E N D
การระงับปวดหลังผ่าตัดการระงับปวดหลังผ่าตัด Acute Pain (Postoperative) Management ศ. สมบูรณ์ เทียนทอง ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น June 2008
ความสำคัญของการระงับปวดความสำคัญของการระงับปวด • การประเมินและบันทึกความปวด • IM PRN : ทำอย่างไรให้ได้ดีกว่าเดิม • เทคนิคการระงับปวดในปัจจุบัน • New Concepts in PO pain management • การติดตามผลการรักษา (APS) หัวข้อบรรยาย
ถ้าไม่ต้องรับรู้อาการปวดเลยจะดีหรือไม่ ? http://news.bbc.co.uk/1/hi/health/4195437.stm
Definition “Pain is an unpleasant sensory and emotional experience associated with actual or potential tissue damage or described in terms of such damage “ (IASP, 1979 ) ความปวด “ คือประสบการณ์ทางความรู้สึกและอารมณ์ที่ไม่สบาย ซึ่งเกิดขึ้นร่วมกับการที่เนื้อเยื่อถูกทำลาย หรือถูกบรรยายประหนึ่งว่ามีศักยะในการทำลายเนื้อเยื่อนั้น”
Postoperative Pain (Pain Transmission) Pain Descending modulation Dorsal Horn Sensitizing soup Dorsal root ganglion Ascending input • Inflammatory mediators • - Prostaglandin, • Substance-P, H+, • Histamine, etc., Spinothalamic tract Peripheral nerve Trauma Peripheral nociceptors Adapted from Gottschalk A et al. Am Fam Physician. 2001;63:1981, and Kehlet H et al. Anesth Analg. 1993;77:1049.
5 6 4 3 2 1 Chronic Pain: Myofascial, neuropathic Pain Nociceptive Pain Central sensitization: Neurotransmitters
BrainAscending TractsDescending Tracts Frontal Cortex -Cingulate Gyrus -Insula & Other structures in Limbic system Thalamic Nuclei Hypothalamic Nuclei -Paraventricular Nucleus Amygdala Lucus Ceruleus Rostral Pons Periaquaductal grey
5 6 4 3 2 1 Descending Modulation
ความปวดอาจมีผลเสียอะไรบ้างความปวดอาจมีผลเสียอะไรบ้าง Anxiety Immobilization Tissue hypersensitive Neuro modulation Regional blood flow PA I N DVT Plt aggregation RS Na retention CAD Stress response HYPOXIA O2 consumption Delayed healing Immune
Effective Pain Management: มีข้อดีอะไรบ้าง • Patient comfort and satisfaction1,2,3 • Earlier mobilization4 ↑ Pulmonary outcomes5 • Hospital stay3,4 • Costs4 1. Eisenach JC, et al. Anesthesiology. 1988;68:444–448. 2. Harrison DM, et al. Anesthesiology. 1988;68:454–457. 3. Miaskowski C, et al. Pain. 1999;80:23–29. 4. Finley RJ, et al. Pain. 1984;2:S397. 5. Ballantyne JC, Anesth Analg 1998; 86(3): 598-612.
82% 77% 49% 47% 23% 21% 19% 18% 13% 8% Any Pain Slight Pain Moderate Pain Severe Pain Extreme Pain Pain Continues to be Undertreated Postoperative pain U.S., 1993 and 20031,2 1993 (n=135) 2003 (n=250) Undertreated Why? 1Adapted from Apfelbaum JL et al. Anesth Analg. 2003;97:534-540.2Warfield CA et al. Anesthesiology. 1995;83:1090-1094.
ระบบบริหาร ระบบการบริการ แพทย์/พยาบาล ตัวผู้ป่วย/ญาติ ทักษะและความรู้เรื่องความปวด เลือกเทคนิคระงับปวดไม่เหมาะสม ปัญหาควบคุมยาเสพติด:ใบ ยส. ความเชื่อที่ผิดๆ กลัวผลแทรกซ้อนของยา/ติดยา ไม่ใช่หน้าที่ ความรู้ Attitude (ไม่ถูก) Barriers to pain relief นโยบาย (ชาติ) รพ. Rawal N. Anesth Pain Med. 1999;24(1):68–73. Sinatra R. In: Cousins MJ, Bridenbaugh PO. Neural Blockade in Clinical Anesthesia and Management of Pain; 1998:793–835. American Pain Society Quality Improvement Committee. JAMA. 1995;1847–1880.
การระงับปวดเริ่มต้นด้วย 2A A1. = Attitude, A2 = Assessment • รายงานนักเรียน • ปวดเล็กน้อย • ปวดพอทน • รายละเอียด pain
การประเมินความปวดทำได้อย่างไร? “Self-report” • Numeric rating scale(NRS) • 0-10 2. Verbal rating scale(VRS) no pain, mild, moderate, severe 3.Visual Analogue scale(VAS) 0 x 10
ไม่ปวด มากที่สุด 0 3 1 2 4 5 6 7 8 9 10 NRS ไม่ปวด เล็กน้อย ปานกลาง มาก มากที่สุด VRS ไม่ปวด มากที่สุด Face เครื่องมือประเมินความปวด
15 การที่จะประเมินความปวดได้ง่ายและน่าเชื่อถือ จำเป็นที่จะต้องสอนผู้ป่วยก่อนผ่าตัด สอนขณะให้ IV ศศิวิมล และคณะ วิสัญญีสาร 2548?
Pain assessment (Children) Face scale
รวม 10 รักษา>3
2001 JCAHO Pain Management Standards • Patients have the right to appropriate assessment and management of pain • Pain is considered the 5th vital sign Pain intensity ratings are required to berecorded with BT, PR, BP and RR
Pain: The Fifth Vital Sign™1*
IV infusion Traditional Methods IV PCA Spinal Morphine Epidural Analg จาก 2 A มาถึง Knowledge เทคนิคการระงับปวดหลังผ่าตัด Oral Pain Control :Techniques Others - IA Morphine - PNB, LA
การระงับปวดด้วยวิธี IM ได้ผลอย่างไร % Dolin. Br J Anaesth 2002 Pain Intensity by Techniques
แนวโน้มการใช้ IM ในการระงับปวด No of Studies (N = 165) Dolin. Br J Anaesth 2002;89:409-23.
ระดับยาลดต่ำ ผู้ป่วยมีอาการปวด Response time 27-42 min(1) ระดับยาสูงเกินไป/ หลับ/มีอาการแทรกซ้อน ผู้ป่วยขอยาแก้ปวด พยาบาลรับทราบ ยาออกฤทธิ์ พยาบาลดูผู้ป่วย ยาดูดซึม ฉีดยา อ่านคำสั่ง/ ตัดสินใจให้ยา เตรียมยา 1.Chan, Reg Anesth 1995;20:506-14. Order แบบ PRN Pain Cycle: 10 Steps of PRN
PRN Around the Clock PRNvsAround the Clock: Concept ที่ต่างกัน พยาบาล ผู้ป่วย จุดอ่อน PRN: จุดอ่อน ATC: - ไม่กล้าขอยา - Breakthrough pain - Response ช้า
Web site APS PACU • IM PRN จะดีกว่าเดิมได้อย่างไร • มีแนวทางระงับปวด • - มีการประเมินความปวด • - มีการติดตามผลการรักษา • - Rescue dose • - มีการบันทึกความปวด
การฉีดยาระงับปวดเข้ากล้ามมีข้อเสียอะไร?การฉีดยาระงับปวดเข้ากล้ามมีข้อเสียอะไร? • Srinagarind Med J 2002; 17(1): 2-3. Dose/day = ? (น้อย) SE: เกิดแต่ช้า การระงับปวด: เกิดช้าเช่นเดียวกัน http://www.smj.ejnal.com
New Concepts in Post- op Pain Management • Preemptive analgesia: มีอะไรใหม่? • Multimodal Analgesia • Pain Management by • Type Specific Procedures
Concept of Preemptive Analgesia Definition Drugs
Morphine Potentiation NSAIDs,acetaminophen, nerve blocks Multimodal Analgesia • Improved Efficacy due to synergistic/additive effects • Reduced doses of each analgesic • May reduce severity of sideeffects of each drug N/V 30% Kehlet H, Dahl JB. Anesth Analg. 1993;77:1048–1056. Jin F, Chung F. J Clin Anesth 2001;13:524-39. (Review)
Pharmacology Route & Technique
40mg 1000mg Koppert, et al. Pain 2004;108:148-53. Sites of Action COX-2 COX-2
C-Terminal COX2 PG COX1 COX2 PG Microglia Astrocytes Endothelial COX2 COX1 COX2 DORSAL HORN NEURON Yaksh, 1999
Diclofenac 150 mg iv.infusion ก่อนผ่าตัด Bupivacaine wound infiltration Morphine 3 mg iv q 4 h ไม่ปวด PACU 0 คะแนน Parecoxib Case ผู้หญิง อายุ 45 ปี เคยผ่าตัด Lower abdomen ปวดมาก จะมาผ่าตัด TAH ไม่อยากทำ Block หลัง
การผ่าตัดระดับกลาง: - ฉีด ยาชา รอบแผลผ่าตัดหรือทำ PNB - ยาระงับปวด:NSAIDsรับประทาน/ฉีด Spinal/epidural morphine (single dose) Opioids (IV ATC, PCA) คำแนะนำสำหรับ Multimodal Analgesia การผ่าตัดเล็ก: - ฉีดยาชารอบแผลผ่าตัดหรือทำ PNB - ให้ยาระงับปวด NSAIDsรับประทาน/ฉีด -BTP: Paracetamol, Para+codeine, tramadol
คำแนะนำสำหรับ Multimodal Analgesia การผ่าตัดใหญ่: - ฉีด ยาชา รอบแผลผ่าตัดหรือทำ PNB - ยาระงับปวด:NSAIDs รับประทาน/ฉีด Spinal morphine (single dose) Opioids (PCA, IV infusion, IV ATC) Continuous Epidural (bupivacaine+Opioids:PCEA)
New Concepts in Post- op Pain Management • Preemptive analgesia: มีอะไรใหม่? • Multimodal Analgesia • Pain Management by • Type Specific Procedures
Web APS Dahmani, et al. Br J Anaesth 2001; 87:385-9.
ผู้ป่วยหญิง: C/S Explore Lap NSAIDs LA
ความสำคัญของการระงับปวดความสำคัญของการระงับปวด • การประเมินและบันทึกความปวด • IM PRN : ทำอย่างไรให้ได้ดีกว่าเดิม • เทคนิคการระงับปวดในปัจจุบัน • New Concepts in PO pain management • การติดตามผลการรักษา (APS) หัวข้อบรรยาย