1 / 86

การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาระบบงาน โครงการความร่วมมือระหว่าง สพท.นศ. 2 กับ สถาบันวิจัยและพัฒนาการเรียนรู้ พฤศจิกายน 2

การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาระบบงาน โครงการความร่วมมือระหว่าง สพท.นศ. 2 กับ สถาบันวิจัยและพัฒนาการเรียนรู้ พฤศจิกายน 2550 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ศรีวิชัย นครศรีธรรมราช. โครงการพัฒนาต้นแบบ สพท.เข้มแข็ง. กระจายอำนาจ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง. วิสัยทัศน์. สร้างองค์กรการเรียนรู้

betty_james
Download Presentation

การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาระบบงาน โครงการความร่วมมือระหว่าง สพท.นศ. 2 กับ สถาบันวิจัยและพัฒนาการเรียนรู้ พฤศจิกายน 2

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาระบบงานการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาระบบงาน • โครงการความร่วมมือระหว่าง สพท.นศ. 2 • กับ • สถาบันวิจัยและพัฒนาการเรียนรู้ • พฤศจิกายน 2550 • ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ศรีวิชัย • นครศรีธรรมราช

  2. โครงการพัฒนาต้นแบบ สพท.เข้มแข็ง กระจายอำนาจ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง

  3. วิสัยทัศน์ สร้างองค์กรการเรียนรู้ สู่ สพท. คุณภาพ

  4. องค์กรเรียนรู้ มีวิสัยทัศน์ร่วม คิดสร้างสรรค์ คิดเชิงระบบ เรียนรู้ในทีม พัฒนาตนเอง

  5. เรียนรู้สู่...คุณภาพสถานศึกษาเรียนรู้สู่...คุณภาพสถานศึกษา สถาบันวิจัยและพัฒนาการเรียนรู้ http.//lrd.thaihealthnet.com System Plan Team Think over Assessment and Reflection

  6. อปริหานิยธรรม ธรรมะที่นำไปสู่ความไม่อัปรีย์ หมั่นประชุมหารือกันเนืองนิตย์ พร้อมเพรียงจิตทำงานไม่เกี่ยงหนี เคารพกฎเกณฑ์ประจำให้ทำดี ประธานมีฟังท่านงานดำเนิน ทั้งเล็กใหญ่ยกย่องกันไม่หยันหยาม สิ่งดีงามดำรงอยู่ชูสรรเสริญ น้อมรับผู้ทรงธรรมไม่ก้ำเกิน เช่นนี้เชิญใครทำลายแพ้พ่ายเอง ศ.กิตติคุณ อำไพ สุจริตกุล ประพันธ์

  7. “ ไป่สิ้นศึกษา” เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ พ่อแม่ได้แต่หวัง ให้ลูกตั้งใจศึกษา จนได้ใบปริญญา เป็นเกียรติแก่วงศ์ตระกูล พ่อค้าก็หวังได้ ผลกำไรทวีคูณ ดอกผลอันเพิ่มพูน ธุรกิจศึกษาการ การเมืองก็หวังมุ่ง จะปรับปรุงงบประมาณ ศึกษาต้องไพศาล ล้วนวางแผนแล้ววางแผน ผู้เรียนก็เพียรรู้ รู้พิภพรู้จบแดน ปริญญาเป็นโยชน์แขวน ผนังตั้งอัตตาตน ครูบาแลอาจารย์ ว่าการศึกษาคือกุศล ปูชนียบุคคล พอทนได้ก็ทนไป ถามทักนักปรัชญา การศึกษาคืออะไร ทฤษฎีทิศะใด ก็ต่างตอบล้วนต่างความ

  8. บ้างเห็นเป็นเจดีย์ มีสัณฐานอันเรืองรามบ้างเห็นเป็นเจดีย์ มีสัณฐานอันเรืองราม องค์ระฆังบัลลังก์งาม จนสูงสุดพุทธันดร แท้การศึกษาคือ เป็นสื่อประสงค์เป็นวงจร เป็นวงวัฎไม่ขาดตอน อันต่อเนื่องเป็นชีวิต ศึกษาคือสิกขา พิจารณาทั้งกายจิต รู้เพ่งรู้พินิจ ให้ดูตัวเป็นอาจินต์ ศึกษาเป็นพาหะ ให้สำนึกอย่ารู้สิ้น ดูดาวแต่เดินดิน สมดุลดีทุกก้าวเดิน ก้าวนำและก้าวหน้า ต้องกล้าก้าวกล้าเผชิญ กล้าคิดให้กว้างเกิน กล้ามองไกลและใฝ่รู้ มุ่งก้าวมั่นรู้ทันโลก อยู่ในโลกเหนือโลกอยู่ ประโยชน์รวมต้องร่วมรู้ ร่วมรับใช้ร่วมใฝ่ดี ศึกษาเพื่อมวลชน ใช่เพื่อตนเพื่อตราตี ความรู้ประดามี มิใช่อยู่แต่โรงเรียน ศึกษาเพื่อชีวิต คือฟังคิดและถามเขียน ดวงเทียนจงต่อเทียน สว่างทั่วทวยไทยเทอญ.

  9. วัตถุประสงค์ • พัฒนาระบบของ สพท.และโรงเรียนด้วยระบบ การจัดการคุณภาพ • พัฒนาภาวะผู้นำและทักษะที่เกี่ยวข้อง • สร้างวัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในองค์กร • 4. ประสานดำเนินงานต่างๆใน สพท. เพื่อคุณภาพ โรงเรียนให้เป็นระบบและไปในทิศทางเดียวกัน

  10. การประกันคุณภาพสถานศึกษาการประกันคุณภาพสถานศึกษา การประกันคุณภาพภายใน การประกันคุณภาพภายนอก กระบวนการ ผลลัพธ์ เน้นการจัดการเชิงกระบวนการ เน้นการประเมินคุณภาพของ มีระบบคุณภาพที่มั่นคง มีการประเมินคุณภาพอย่างสม่ำเสมอเพื่อการปรับปรุง แสดงผลลัพธ์ได้ว่ามาจากกระบวนการที่ดี

  11. ประกันคุณภาพภายใน I ระบบ ประกันคุณภาพ You He ประกันคุณภาพภายนอก ประกันคุณภาพโดยต้นสังกัด

  12. Quality Systems แนวคิดเชิงระบบ องค์กรหลายระบบ 1. องค์กรประกอบด้วยหลายระบบที่ปฏิสัมพันธ์กันเพื่อเป้าหมาย ขององค์กร ระบบ = กระบวนการ 2. แต่ละระบบจะมีกระบวนการซึ่งประกอบด้วยชุดกิจกรรมที่ ดำเนินการอย่างต่อเนื่องกัน ระบบที่ดี = ระบบคุณภาพ: 3. คือการปรับปรุงกระบวนการให้ดียิ่งขึ้น เป็นระบบที่มีคุณภาพ ดีขึ้น ซึ่งช่วยทำให้ระบบดำเนินการอย่างมีคุณภาพสม่ำเสมอ

  13. แนวคิด 3 ประการในการประกันคุณภาพภายใน • System Thinking • Strategic Thinking • Team Learning

  14. กรอบแนวคิด โรงเรียน ผู้เรียน พัฒนา สพท. - พัฒนาระบบงาน ใน สพท. - พัฒนาโรงเรียน • - ได้รับการสนับสนุน/ • บริการที่ดีจาก สพท. • มีระบบการจัดการ • คุณภาพที่ดี • (การประกันคุณภาพ • ภายใน) สัมฤทธิผล คุณลักษณะ

  15. หนึ่งโรงเรียนหลายระบบหนึ่งโรงเรียนหลายระบบ Input Output Process ระบบสนับสนุน ระบบหลัก ผลลัพธ์ ระบบเรียนรู้ ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ระบบกิจกรรมนักเรียน ระบบสารสนเทศ

  16. ระบบพัฒนาคุณภาพ สพท. นครฯ 3 • ระบบสนับสนุน • ระบบนำองค์กร • ระบบยุทธศาสตร์ • ระบบพัฒนาวินัย คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ • ระบบพัฒนาการมีส่วนร่วม • ในการจัดการศึกษา • 5. ระบบให้บริการโรงเรียน(งบประมาณ , บุคลากร) • 6. ระบบบริหารจัดการภายใน สพท. • ระบบหลัก • ระบบส่งเสริม สนับสนุน/พัฒนาคุณภาพ • - การเรียนรู้ • - การดูแลช่วยเหลือนักเรียน • - กิจกรรมนักเรียน • 2. ระบบพัฒนาครูฯ • ระบบนิเทศโรงเรียนแบบบูรณาการ(งบประมาณ,บุคคล,วิชาการ,บริหารทั่วไป) ผลผลิต โรงเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานที่ 9-18 7. ระบบเครือข่ายเทคโนโลยีและสารสนเทศ

  17. ระบบพัฒนาคุณภาพ สพท. พังงา • ระบบสนับสนุน • ระบบแผนงาน • ระบบงบประมาณ • ระบบสนับสนุนบุคลากร • ระบบอำนวยการ • 5. ระบบการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา • ระบบสวัสดิการ • ระบบดูแลคุณธรรม จริยธรรมแห่งวิชาชีพครู • ระบบหลัก • ระบบสนับสนุนวิชาการ • 2. ระบบสนับสนุนการบริหาร • ระบบประเมินผล/ประกันคุณภาพการศึกษา • 4.ระบบพัฒนาบุคลากร ผลผลิต โรงเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานที่ 9-18 8. ระบบสารสนเทศ

  18. ระบบคุณภาพ สพท. ชุมพร 2 ระบบหลัก ระบบสนับสนุน ผลลัพธ์ • ระบบการนำองค์กร • ระบบยุทธศาสตร์ • ระบบการบริหารงบประมาณ • 4. ระบบบริหารบุคลากร • 5. ระบบสวัสดิการบุคลากรฯ • ระบบดูแลคุณธรรม จริยธรรม • สร้างการมีส่วนร่วม • ระบบการนิเทศด้านวิชาการ • ระบบการนิเทศด้านบริหาร • ระบบพัฒนาบุคลากรของโรงเรียน • ระบบส่งเสริมการประกันคุณภาพโรงเรียน โรงเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานที่ 9-18 8. ระบบสารสนเทศ

  19. ระบบนิเทศ ติดตาม ประเมินผล ตัวอย่างระบบการจัดการคุณภาพ สพท. : สร้างความตระหนักการประกันคุณภาพการศึกษา พัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในโดย ToPSTAR นิเทศ ติดตาม การดำเนินงานพัฒนาระบบของโรงเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประเมินทบทวนระบบ วิเคราะห์ผลการประเมิน Y ปรับปรุงหรือไม่ ปรับปรุง/พัฒนา N สรุปผล จัดทำรายงาน เผยแพร่

  20. 1.วิเคราะห์คำอธิบายรายวิชาและออกแบบหน่วยการเรียนรู้1.วิเคราะห์คำอธิบายรายวิชาและออกแบบหน่วยการเรียนรู้ กระบวนการ (Flow Chart) ของ ระบบการเรียนรู้ 2.ทดสอบและวิเคราะห์ผู้เรียน N ผ่านเกณฑ์หรือไม่ 3.จัดกลุ่มปรับพื้นฐาน Y 4.ออกแบบการวัดผล และกิจกรรมการเรียนรู้ 5.จัดกิจกรรมการเรียนรู้ 6.ประมวลผลการเรียนรู้ และการสอนแต่ละหน่วย 7.นิเทศภายใน / แลกเปลี่ยนเรียนรู้ Y ควรปรับปรุงหรือไม่ 8.ปรับปรุงแก้ไข/วิจัย N 9.ดำเนินการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ 10.สรุปผลสัมฤทธิ์และ รายงานผลการเรียนรู้

  21. การดูแลช่วยเหลือนักเรียนของครูที่ปรึกษา ระบบดูแล ช่วยเหลือ นักเรียน

  22. ระบบการจัดการคุณภาพ ระบบ มาตรฐานและตัวบ่งชี้ กระบวนการ วิธีการปฏิบัติ บันทึกการปฏิบัติงาน วางระบบ (Plan) แก้ไข/พัฒนา (Act) ทำตามระบบ (Do) สารสนเทศ (ตัวชี้วัด/เกณฑ์) ตรวจสอบ/ประเมิน (Check)

  23. กระบวนการพัฒนา สพท. • แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาต้นแบบ สพท.เข้มแข็ง (ทีมนำ) • ประชุมปฏิบัติการคณะกรรมการวางแผนดำเนินการพัฒนา สพท. และจัดทำโปรแกรมฝึกอบรม • ประชุมชี้แจงสร้างความเข้าใจและความตระหนักให้แก่บุคลากร สพท. และมอบหมายให้แต่ละกลุ่มวิเคราะห์ระบบงานของกลุ่ม • จัดประชุมปฏิบัติการบุคลากรทีมทำ สพท. ...คน นำเสนอการวิเคราะห์ระบบงาน วางระบบงาน และจัดตั้งทีมพัฒนา • จัดทำร่างคู่มือระบบ ประชุมวิพากษ์ ปรับปรุง และจัดทำคู่มือระบบ • ทุกกลุ่มปฏิบัติงานตามคู่มือระบบ จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • แต่งตั้งคณะกรรมการติดตาม ประเมินผล และจัดอบรมประชุมชี้แจง • จัดให้มีการประเมินตนเอง ระหว่างกลุ่ม และบุคคลภายนอก • ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปรับปรุงพัฒนาระบบ

  24. ใบกิจกรรมที่ 1 • แบ่งกลุ่มพูดคุย 3-4 คน ในประเด็นต่อไปนี้ • กระบวนทัศน์การพัฒนาองค์กรเชิงระบบมีจุดเด่นอย่างไรบ้าง • 2. การนำไปประยุกต์ใช้ในองค์กร น่าจะมีปัญหา/อุปสรรคอย่างไรบ้าง

  25. รูปแบบ Flow chart Macro Flow Chart Top – D0wn Flow Chart Process Flow Chart 1 2 3

  26. ใบกิจกรรมที่ 2 คำชี้แจง • ให้กรรมการผู้รับผิดชอบแต่ละระบบประชุม • อภิปรายกำหนด • วัตถุประสงค์ของระบบ ( 4-5 ข้อ ) • วิสัยทัศน์ของระบบ • มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ • 3.1. ด้านผลลัพธ์ • 3.2. ด้านกระบวนการ • 3.3. ด้านปัจจัย

  27. ใบกิจกรรมที่ 3 การวิเคราะห์ระบบโดยTop – Down Flow Chart ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 1 ที่เป็นอยู่........ ปัญหา...... ที่ควรจะเป็น... .............. ที่เป็นอยู่...... ปัญหา...... ที่ควรจะเป็น... ............... ที่เป็นอยู่........ ปัญหา...... ที่ควรจะเป็น... ............... ที่เป็นอยู่........ ปัญหา...... ที่ควรจะเป็น... ............... ที่เป็นอยู่........ ปัญหา...... ที่ควรจะเป็น... ............... Process Flow Chart

  28. ToPSTAR System สถาบันวิจัยและพัฒนาการเรียนรู้

  29. การบริหารจัดการระบบคุณภาพการบริหารจัดการระบบคุณภาพ จำนวนเหตุการณ์ QA CQI RM ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ มิติคุณภาพ สถาบันวิจัยและพัฒนาการเรียนรู้

  30. การออกแบบระบบคุณภาพ การออกแบบระบบคุณภาพ วิเคราะห์มาตรฐานและข้อกำหนดของระบบย่อย ออกแบบ Process flow chart ของระบบย่อย กำหนดวิธีการและบันทึก วิเคราะห์ตัวชี้วัดของระบบ วางระบบสารสนเทศ วางระบบสารสนเทศ สถาบันวิจัยและพัฒนาการเรียนรู้

  31. การออกแบบระบบคุณภาพ (มาตรฐานการศึกษาเชิงระบบ 18 มาตรฐาน) มาตรฐาน ข้อกำหนด (ข้อกำหนดคุณภาพการศึกษาตามจำนวนตัวบ่งชี้) เกณฑ์ (โรงเรียนเป็นผู้กำหนดเองจากตัวชี้วัดระบบ) (วิเคราะห์จากขั้นตอนกระบวนการของระบบย่อย) ตัวชี้วัดระบบ (ระบบย่อยของโรงเรียนที่เชื่อมโยงมาตรฐาน) ระบบ สถาบันวิจัยและพัฒนาการเรียนรู้

  32. การออกแบบระบบในโรงเรียน(System)การออกแบบระบบในโรงเรียน(System) กรอบคิด : แนวคิดในการออกแบบระบบคุณภาพ • ขั้นตอน (Flowchart) ในรูปแบบ 1. ไม่ซ้ำซ้อน ผู้ปฏิบัติเป็นคนเดียวกัน ในเวลาเดียวกัน ใช้ขั้นตอนเดียว 2. ไม่ซับซ้อน (มี เท่าที่จำเป็น) • วิธีการมาตรฐานแสดงรายละเอียดของแต่ละขั้นตอนว่า ใคร?ทำอะไร? ทำอย่างไร? ได้ผลลัพธ์อะไร? 1. เป็นนวัตกรรมทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้ง่าย,เร็ว 2. เป็นการออกแบบที่เน้น How to ที่สะท้อนมาตรฐาน • ตัวชี้วัด (KPI) เหมาะสมทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ 1. ครอบคลุม Input,Process,Output,Outcome,Impact 2. สะท้อนมาตรฐาน/ข้อกำหนดได้เหมาะสม/ชัดเจน • เกณฑ์ของโรงเรียนควรกำหนดให้เป็นช่องว่างที่จะพัฒนา 1. สามารถประมวลเป็นศักยภาพและแนวทางการเรียนรู้ของทีม,โรงเรียน 2. เป็นเกณฑ์ที่แสดงข้อมูลที่เป็นจริงชัดเจน • การบันทึกมาตรฐานควรออกแบบให้ง่ายต่อการบันทึก,ตรวจสอบและนำเข้าสู่ระบบ IT (เป็นการสะท้อนนวัตกรรมอย่างหนึ่ง)

  33. พวกเราจะทำอะไรอย่างไรในสถานการณ์นี้พวกเราจะทำอะไรอย่างไรในสถานการณ์นี้ พวกเรามาจัดการความรู้ในองค์กรเถอะครับ

  34. ชนิดของความรู้ • Explicit Knowledge ความรู้ที่เป็นวิทยากร เป็นหลักวิชา กลักการ ทฤษฎี ได้จากการศึกษาค้นคว้าแล้วนำมาบันทึก เช่น หนังสือ สื่อ สิ่งพิมพ์ อีเลคทรอนิคส์ • Tacit Knowledge ความรู้ที่เป็นภูมิปัญญาและประสบการณ์ เป็นความรู้จากประสบการณ์การปฏิบัติงาน ขั้นตอนวิธีการปฏิบัติงาน การแก้ปัญหา

  35. แนวคิด “การจัดการ” ความรู้ Create/Leverage Access/Validate สร้างความรู้ ยกระดับ เข้าถึง ตีความ ความรู้เด่นชัด Explicit Knowledge ความรู้ฝังลึก Tacit Knowledge นำไปปรับใช้ รวบรวม/จัดเก็บ เรียนรู้ร่วมกัน store Capture & Learn apply/utilize มีใจ/แบ่งปัน เรียนรู้ ยกระดับ Care & Share เน้น “2P” Process & People เน้น “2T” Tool & Technology

  36. Knowledge Based Systemระบบฐานความรู้ • Working Knowledge ความรู้ในการปฏิบัติงาน • Book Brief สรุปสาระสำคัญขององค์ความรู้ในการปฏิบัติงาน • Ask an Expert ความรู้จากการสอบถามผู้เชี่ยวชาญ • E-Knowledge ความรู้จากสื่ออีเลคทรอนิคส์ • Knowledge Sharing ความรู้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • Best Practices ความรู้จากการปฏิบัติที่เป็นเลิศ

  37. Knowledge Sharing ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน(Share & Learn) “คุณอำนวย” Knowledge Facilitator “คุณเอื้อ” Chief Knowledge Officer : CKO Knowledge Assets ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT “สะบัดหาง” สร้างพลังจาก CoPs “คุณกิจ” Knowledge Vision ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” Knowledge Practitioner แนวทางหนึ่ง ที่จะช่วยให้ “ไม่ไปผิดทาง” Model“ปลาทู” KS KA KV

  38. Story telling • เป็นการบอกเล่าเรื่องให้เกิดความรื่นรมย์ ช่วยสร้างสัมพันธภาพ โดยเรื่องที่เล่าจะทำให้ผู้ฟังเข้าไปร่วมอยู่ในความคิด มีความรู้สึกเหมือนเป็นส่วนหนึ่งของเรื่องที่เล่ามา มีความต้องการหาคำตอบ เพื่อแก้ปัญหาเรื่องที่เล่านั้น

  39. ใบกิจกรรม Story Telling

  40. ใบกิจกรรมการออกแบบระบบใบกิจกรรมการออกแบบระบบ

  41. ใบกิจกรรมการออกแบบระบบใบกิจกรรมการออกแบบระบบ

  42. ทักษะเบื้องต้นในการจัด Team Learning ( ได้ใจ + ได้ความรู้ ) • ทำให้ดู ( Monitoring ) • คุยให้รู้ (Dialog) • อยู่ให้เห็น ( Directing ) • ประชุมให้เป็น ( Meeting )

  43. ทักษะการให้กำลังใจ • รับฟังอย่างตั้งใจ • สะท้อนความรู้สึก / สาระ • ค้นหาศักยภาพ • ร่วมกันหาทางปฏิบัติ • ติดตามผล

  44. ทักษะการเตือน / ชวน • บอกความรู้สึก ตามด้วยเหตุผล • เตือน / ชวน • ขอความเข้าใจ / เห็นใจ • ต่อรอง / ผัดผ่อน

  45. ทักษะการถาม • ถามเพื่อค้นหา ไม่ถามเพื่อวินิจฉัย • ใช้คำถามปลายเปิด • ไม่ใช้คำถามซ้อนคำถาม • หลีกเลี่ยงคำว่า “ทำไม” • ควรใช้คำว่า “มีอะไรทำให้...”

  46. การสื่อสารเชิงสร้างสรรค์การสื่อสารเชิงสร้างสรรค์ • สำรวจอารมณ์ทั้งสองฝ่าย • ทำตัวเป็นพวกเดียวกัน • บอกความรู้สึก / เหตุผล • ขอร้อง / เตือน / ชวน • ขอความเห็นใจ

  47. สิ้นแผ่นดิน สิ้นชาติ ชุมชนล่มสลาย หายนะ วิกฤตการณ์ของสังคมไทย อบายมุข สิ่งแวดล้อมถูกทำลาย ยาเสพย์ติด

  48. การศึกษา การเรียนรู้

More Related