440 likes | 1.32k Views
Chapter 2-1. Data Flow Diagram (DFD). โดย ...อาจารย์เกศแก้ว ประดิษฐ์ Kate_psu08@hotmail.com. Concept System Analysis. ขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบ Data Flow Diagram (DFD) สัญลักษณ์แทนแผนภาพกระแส ข้อมูล กฎเกณฑ์การวาดแผนภาพ กระแสข้อมูล ตัวอย่างแผนภาพกระแสข้อมูล Context Diagram (Level 0)
E N D
Chapter 2-1 Data Flow Diagram (DFD) โดย ...อาจารย์เกศแก้ว ประดิษฐ์ Kate_psu08@hotmail.com
ConceptSystemAnalysis • ขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบ • Data Flow Diagram (DFD) • สัญลักษณ์แทนแผนภาพกระแส ข้อมูล • กฎเกณฑ์การวาดแผนภาพ กระแสข้อมูล • ตัวอย่างแผนภาพกระแสข้อมูล • Context Diagram (Level 0) • System Diagram (Level 1) • Lower Level DFD
SystemAnalysis ขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบ • วิเคราะห์ระบบงานเดิมที่ดำเนินการอยู่ในปัจจุบัน เพื่อให้ทราบถึงขั้นตอนการปฏิบัติงานจริง • สร้างแบบจำลองเชิงตรรก (Logical Model) • Data Flow Diagram (DFD) แผนภาพกระแสข้อมูล แสดงถึงกระบวนงาน ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และแหล่งที่มา ที่ไป ของข้อมูล • สร้างแบบจำลองข้อมูล (Data Model) • E-R Diagram แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล
ProcessHierarchychart Hierarchychart คือ การเขียนอธิบายกระบวนการทำงานของระบบในลักษณะผังงาน ดังรูป
DataFlowDiagram (DFD) • DFD แผนภาพกระแสข้อมูล • DFD ใช้สำหรับอธิบายถึงการไหลเวียนของ data และ process ที่เกี่ยวข้องในระบบ • DFD จะแสดงลักษณะของระบบในรูปแบบ logicalmodelซึ่งจะแสดงว่ามี process อะไรที่อยู่ในระบบแต่ จะไม่แสดงว่า process นั้นๆมีการทำงานอย่างไร (บอก what แต่ไม่บอก how) • สัญลักษณ์ของ DFD ที่ได้รับความนิยมมีอยู่ 2 แบบ • GaneandSarson • Yourdon
DataFlowDiagram (DFD) • สัญลักษณ์รูปภาพที่ใช้ในการวาด DFD มีอยู่ 4 รูป คือ 1. Process 2.Dataflow 3.Datastore 4.Externalentity • DFD ทำให้ทราบถึง 1. ข้อมูลมาจากแหล่งใด 2. ข้อมูลไปที่ไหน 3. ข้อมูลถูกจัดเก็บที่ใด 4. เกิดเหตุการณ์ใดขึ้นกับข้อมูลในระหว่างการดำเนินงาน
สัญลักษณ์แทนแผนภาพกระแสข้อมูล • Process symbol • แทนด้วย สี่เหลี่ยมมุมมน หรือ วงกลม • คำอธิบายจะเป็นคำกริยา (Verb) เช่น ลงทะเบียน เพิกถอน รายวิชา พิมพ์รายงาน • ไม่แสดงรายละเอียดขั้นตอนการทำงาน โดยรายละเอียด การทำงานของแต่ละ process จะอธิบายในส่วนของ process description • จะรับข้อมูล (input) และ ให้ ผลลัพธ์ (output) ของข้อมูล ดังกล่าวที่ผ่านการ process แล้ว
สัญลักษณ์แทนแผนภาพกระแสข้อมูล • Data flow symbol • แสดงด้วยเส้นลูกศร และกำกับด้วยชื่อของข้อมูล • แต่ละเส้นอาจแสดงข้อมูลได้มากกว่า 1 ชุด • แต่ละ process อย่างน้อยต้องมี 1 data flow เข้า หรือ 1 data flow ออก Customer Order
Employee Employee สัญลักษณ์แทนแผนภาพกระแสข้อมูล • Data store symbol • แสดงด้วยสี่เหลี่ยมที่เปิดหนึ่งด้าน หรือ เส้นขนาน • แสดงการเก็บข้อมูลที่จะนำมาประมวลผลในภายหลัง • ต้องมีการเชื่อมต่อกับ process • อย่างน้อยต้องมี 1 data flow เข้า หรือ 1 data flow ออก
สัญลักษณ์แทนแผนภาพกระแสข้อมูล • External entity symbol • แสดงด้วยสี่เหลี่ยมจัตุรัส • แสดงถึงคน หน่วยงาน องค์กร หรือ บริษัท ที่เกี่ยวข้องกับระบบ โดย ไม่ต้องการแสดงรายละเอียด • บางครั้งอาจจะเรียกเป็นเป็น terminators หรือ source หรือ sink
กฎเกณฑ์การวาดแผนภาพกระแสข้อมูล • Process • Process ต้องมีทั้ง Input และ Output Data flow • ไม่มี input อย่างเดียว • ไม่มี output อย่างเดียว • ชื่อของ process ต้องเป็นคำกิริยา เช่น รับคำสั่งซื้อ
กฎเกณฑ์การวาดแผนภาพกระแสข้อมูล • Data Store • ไม่มี data flow จาก data store ไปยัง data store • ไม่มี data flow จาก external entity ไปยัง data store • ไม่มี data flow จาก data store ไปยัง external entity • Data store ตั้งชื่อเป็นคำนาม เช่น แฟ้มข้อมูลลูกค้า
กฎเกณฑ์การวาดแผนภาพกระแสข้อมูล • External Entity • ไม่มี data flow จาก external entity ไป external entity • ชื่อของ external entity เป็นคำนาม เช่น ลูกค้า • Data FlowData Flow • data flow มีหัวลูกศรทางเดียวไม่มีไป—กลับ • data flow 11 เส้นไม่แตกออกเป็น 22 เส้น นอกจากเป็นข้อมูลชุดเดียวกัน แต่ แยกไป 2 process2 process • ไม่มี data flow มา join กลายเป็นข้อมูลตัวเดียว
กฎเกณฑ์การวาดแผนภาพกระแสข้อมูล • Data FlowData Flow (ต่อ) • Data flow ไม่ไหลเข้า process เดิม • Data flow ไหลเข้า data store หมายถึงการ update และไหลออก หมายถึงการดึงข้อมูล • ชื่อของข้อมูลเป็นคำนาม
ตัวอย่างแผนภาพกระแสข้อมูล (อาหารที่ลูกค้าสั่ง) (รายการอาหาร) (ใบเสร็จรับเงิน) (รายงานสรุปยอดขายต่อเดือน)
(อาหารที่ลูกค้าสั่ง) (รายการอาหาร) (ใบเสร็จรับเงิน) (ข้อมูลสินค้าคงเหลือ) (อาหารที่ขายไป) (วัตถุดิบคงเหลือที่แก้ไขแล้ว) (รายการอาหารที่แก้ไขแล้ว) (จำนวนวัตถุดิบคงเหลือ) (จำนวนอาหารที่ขายไป) (รายงานต่างๆ )
ContextDiagram (Level 0) • แผนภาพระดับแรกของ DFD แสดงภาพรวมของระบบ โดยแสดงหน่วยภายนอกที่ เกี่ยวข้อง • จะประกอบด้วย 1 process เท่านั้น และ process ดังกล่าวนี้จะมีชื่อเป็นชื่อของ ระบบและมีหมายเลข ประจำ process เป็นหมายเลข 0 • context diagram จะมีเพียงสามสัญลักษณ์ คือ external, process และ data flow • จะไม่เขียน data store ในระดับนี้
SystemDiagram (Level 1) • หลังจากอธิบายระบบโดยรวมแล้วจะแสดงรายละเอียด ของ process ทั้งระบบ • เป็นส่วนที่แสดงรายละเอียดต่อจาก context diagram • แสดงรายละเอียดของระบบมากกว่า context diagram • แสดง Process หลักของระบบ , Data Flows , External และ Data Stores
Lower-LevelDFD • แสดงถึงรายละเอียดการทำงานของแต่ละ process จาก ระดับที่สูงกว่า • อธิบายการทำงานส่วนย่อย ๆ ช่วยให้เข้าใจระบบได้ดีขึ้น • แต่ถ้า Process ทำงานมากกว่า 1 อย่างก็ควรจะแบ่งย่อยออกไป