1.17k likes | 2.55k Views
การประเมินกลางน้ำ (Midstream Evaluation). อริศรา เล็กสรรเสริญ ภาควิชาศึกษาศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. A. Leksansern. ศาสตร์ว่าด้วยการประเมิน. มีความสำคัญมากขึ้นเรื่อย ๆ มีการใช้กันอย่างแพร่หลายทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชน (ประเมินภายใน/ภายนอก)
E N D
การประเมินกลางน้ำ(Midstream Evaluation) อริศรา เล็กสรรเสริญภาควิชาศึกษาศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล A. Leksansern
ศาสตร์ว่าด้วยการประเมินศาสตร์ว่าด้วยการประเมิน • มีความสำคัญมากขึ้นเรื่อย ๆ • มีการใช้กันอย่างแพร่หลายทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชน (ประเมินภายใน/ภายนอก) • บางหน่วยงานมีการจัดวางระบบการประเมินผลไว้อย่าง ชัดเจน เช่น สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม สุขภาพ (สสส.) A. Leksansern
จุดมุ่งหมายของการประเมินจุดมุ่งหมายของการประเมิน 1.โครงการบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้มากน้อย เพียงใด 2. โครงการคุ้มค่า หรือไม่ 3. โครงการมีผลกระทบอย่างไร (Impact) 4. ควรตัดสินใจอย่างไรเกี่ยวกับโครงการ A. Leksansern
ประโยชน์ • ช่วยให้สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ • ทราบความก้าวหน้า/ปัญหา/อุปสรรค • ช่วยตัดสินใจต่อ/ยกเลิก • บอกประสิทธิภาพ/ความคุ้มค่า • ทราบจุดเด่น/จุดด้อย A. Leksansern
การดำเนินการของแผนงาน/โครงการการดำเนินการของแผนงาน/โครงการ ควรมีการประเมินใน 3 ส่วน คือ1. การประเมินต้นน้ำ (Upstream Evaluation) (เหมาะสมที่จะทำหรือเหมาะที่จะให้ทุน)2. การประเมินกลางน้ำ (Midstream Evaluation) (ติดตาม/ตรวจสอบ/ปรับปรุง/ประคับประคองให้ ดำเนินการไปได้ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย)3. การประเมินปลายน้ำ (Downstream Evaluation) (ประเมินเมื่อสิ้นสุดโครงการ/ดูความสำเร็จ) A. Leksansern
การวางแผนโครงการ (Project Planning) การประเมินก่อนเริ่มโครงการ (Pre-Evaluation) การเตรียมวางโครงการ (Project Formulation) การประเมินโครงการ (Project Appraisal) การร่างโครงการ (Project Design) ความสัมพันธ์ของการประเมินโครงการกับกระบวนการดำเนินโครงการ กระบวนการดำเนินโครงการ การประเมินโครงการ
การนำโครงการไปปฏิบัติ(Implementation)การนำโครงการไปปฏิบัติ(Implementation) การประเมินขณะดำเนินโครงการ(On-Going Evaluation) การกำกับติดตามงาน(Monitoring System) ปัจจัยเบื้องต้น การปฏิบัติ (Input) (Process) ผลของการปฏิบัติ (output) การประเมินเพื่อปรับปรุง(Formative Evaluation) ผล ผลกระทบ(Effect) (Immediate Impact) สิ้นสุดโครงการ (Project Completion) การประเมินเมื่อสิ้นสุดโครงการ (Post Evaluation) ผลของโครงการ (Product) การประเมินรวมสรุป (Summative Evaluation) การติดตามผล (Follow - Up or Tracer Study) ผลพลอยได้ ผลกระทบระยะยาว (Side Effect) (Long-Term Impact)
การประเมินครอบคลุมการประเมิน 4 ระยะ ดังนี้ Start End On-going Post Completion Pre-Plan/Project A. Leksansern
การประเมินครอบคลุมการประเมิน 4 ระยะ ดังนี้ 1. การประเมินก่อนมีแผน/โครงการ : เพื่อดูว่าแผน/โครงการมีความเหมาะสมและเป็นไปได้หรือไม่ 2. การประเมินระหว่างดำเนินแผน/โครงการ : เพื่อติดตามความก้าวหน้าของแผน/โครงการ ตรวจสอบแผน/โครงการ 3. การประเมินเมื่อแผน/โครงการเสร็จสิ้น : เพื่อดูว่าการดำเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้หรือไม่ 4. การประเมินภายหลังแผน/โครงการ : เพื่อดูผลสำเร็จต่อเนื่องและผลกระทบที่เกิดจากแผน/โครงการ ทำให้ทราบถึงผลประโยชน์ ผลกระทบ ในระยะยาว อาจเรียกว่าการประเมินความต่อเนื่องยั่งยืนของแผน/โครงการ
ประเภทของการประเมินตามช่วงเวลาของโครงการประเภทของการประเมินตามช่วงเวลาของโครงการ Context Feasibility Process Product Evaluation Study Evaluation Evaluation Need Input Formative Summative Outcome Follow-up Assessment Evaluation Evaluation Evaluation Evaluation Study ก่อนเริ่มโครงการ ระหว่างดำเนินโครงการ หลังสิ้นสุดโครงการ เริ่มโครงการ สิ้นสุดโครงการ
การกำหนดโครงการ การประเมินก่อนการดำเนินงาน การวางแผนโครงการ การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ ปัจจัยนำเข้า การดำเนินโครงการ กระบวนการ การประเมินขณะดำเนินการ ผลผลิต การประเมินเมื่อสิ้นสุดโครงการ ผลที่ตามมา/ผลกระทบ สิ้นสุดโครงการ ผลกระทบในระยะยาว การประเมินผลหลังสิ้นสุดโครงการ ความสัมพันธ์ระหว่างวงจรโครงการกับการประเมินผลโครงการ
ช่วงเวลาของการประเมินโครงการช่วงเวลาของการประเมินโครงการ การประเมินก่อนดำเนินโครงการเป็นการประเมินความต้องการ (Need Assessment) การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study)ตัวอย่างคำถาม 1) เป้าหมายและวัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหาและความ ต้องการหรือไม่ 2) การใช้ทรัพยากรคุ้มค่าหรือไม่ 3) กิจกรรมที่ดำเนินการสมเหตุสมผลพอที่จะบรรลุเป้าหมาย หรือไม่ 4) บุคลากรทำงานมีคุณสมบัติสอดคล้องกับบทบาทหน้าที่
ช่วงเวลาของการประเมินโครงการ (ต่อ) การประเมินงานระหว่างดำเนินโครงการมุ่งเน้นเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับประสิทธิผลของโครงการ สาระที่ประเมินช่วงนี้คือ การวิเคราะห์แนวโน้ม การประเมินกระบวนการ การประเมินระหว่างดำเนินโครงการ ตัวอย่างคำถาม 1) ดำเนินได้ตามแผนหรือไม่ 2) คุณภาพที่เกิดขึ้น เป็นไปตามคาดหรือไม่
ช่วงเวลาของการประเมินโครงการ (ต่อ) การประเมินช่วงสิ้นสุดโครงการมุ่งเน้นประเมินผลลัพธ์และผลกระทบ และผลผลิต ตัวอย่างคำถาม 1) ผลที่เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดโครงการคืออะไร 2) ผลกระทบระยะยาวเป็นอย่างไร 3) คุ้มทุนหรือไม่ 4) จะดำเนินการต่อไป หรือยุติ
การประเมินผลโครงการทั่วไปการประเมินผลโครงการทั่วไป Formative Evaluation Summative Evaluation A. Leksansern
Formative Evaluation ประเมินปรับปรุง ประเมินระหว่างแผนหรือระหว่างพัฒนาโครงการ ผลที่ได้ช่วยให้วัตถุประสงค์โครงการเป็นไปตามเป้าหมาย อาจใช้ระหว่างดำเนินโครงการ ช่วยตรวจสอบว่าโครงการดำเนินการไปตามแผนของโครงการอย่างไร เรียก Implementation Evaluation หรือ Formative Evaluation ตรวจสอบความก้าวหน้าโครงการดำเนินการได้ผลเพียงใด เรียก Progress Evaluation
Summative Evaluation ประเมินผลรวมสรุป ประเมินหลังสิ้นสุดโครงการ สำหรับโครงการดำเนินการระยะยาว ใช้สรุปย่อความระยาวต่าง ๆ ที่ได้จากข้อมูลประเมิน ช่วยการสรุปรวมนั้นต่อไป ผลสรุปรวมนำไปสู่การรายงาน ว่าโครงการใดบรรลุเป้าหมาย (Goals) หรือไม่อย่างไร รายงานถึงสภาพของโครงการประสบความสำเร็จหรือล้มเหลวเพียงไร มีปัญหา อุปสรรคใดที่ต้องแก้ไขปรับปรุง ข้อมูลเหล่านี้ช่วยให้ผู้บริหารโครงการสามารถนำไปสู่การตัดสินใจ โครงการนั้นดำเนินการต่อ หรือยกเลิก
จุดมุ่งหมายของการประเมินผล (M.Scriven) มีจุดมุ่งหมายหลัก 2 ประการ 1. Formative Evaluation (การประเมินความก้าวหน้า)ได้แก่ การประเมินผลในระหว่างโครงการที่กำลังดำเนินการอยู่ เพื่อประโยชน์ในการปรับปรุงโครงการให้ดีขึ้น โดยการ feed back ที่มีประโยชน์ต่อผู้ประเมินโครงการ ควรเป็นเรื่องของผู้เกี่ยวข้องกับโครงการนั้น ควรเป็นการประเมินผลภายในโครงการ (Internal Evaluation)และผู้ประเมินผลภายนอก (External Evaluation)ร่วมด้วย 2. Summative Evaluation (การประเมินผลสรุป) ได้แก่ การประเมินผลเมื่อโครงการสิ้นสุดลงเรียบร้อยแล้ว เพื่อประโยชน์ในการศึกษาคุณค่าของโครงการ และเพื่อการพิจารณานำลักษณะที่ดีของโครงการไปใช้ในสถานการณ์ที่คล้ายคลึงกัน
เปรียบเทียบรายละเอียด Formative & Summative Evaluation
ทำไมโครงการจึงไม่มีประสิทธิภาพทำไมโครงการจึงไม่มีประสิทธิภาพ • การประเมินผลลัพธ์อย่างเดียว...ให้คำตอบไม่ได้ • จำเป็นต้องมีการประเมินกลางน้ำ - ตรวจสอบว่าได้มีการปฏิบัติไปตามทุกขั้นตอนที่ได้ออกแบบไว้ หรือไม่ • - มีการจัดกิจกรรมต่อกลุ่มเป้าหมายตรงตามที่กำหนดไว้ในโครงการ หรือไม่ - ความพยายามของโครงการ (ครบถ้วน/ตรงตามแผน/มีคุณภาพ)
กรณีตัวอย่าง...ประเทศสหรัฐอเมริกากรณีตัวอย่าง...ประเทศสหรัฐอเมริกา • มีการจัดจ้างสถาบันวิจัยมาประเมินโครงการนำร่องเกี่ยวกับ การจัดการกับภาระครอบครัวของผู้มีรายได้น้อยการประเมิน • ก่อนเริ่มโครงการ และหลังสิ้นสุดโครงการ (18 เดือน) ด้วย แบบสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างเดิมเกี่ยวกับวิธีการใช้จ่ายเงินใน ครอบครัว • ผลการประเมิน พบว่า ไม่มีการเปลี่ยนแปลงแต่อย่างใด A. Leksnsern
กรณีตัวอย่าง...ประเทศสหรัฐอเมริกา (ต่อ) • สรุปผลการประเมินโครงการ • โครงการไม่มีประสิทธิภาพ • ผู้ว่าการรัฐ • เผยแพร่ต่อสื่อมวลชน แสดงให้เห็นความพยายามของรัฐ ในการจัดการปัญหา แต่ไม่ประสบผลสำเร็จ จึงตัดสินใจยุติ โครงการ • ข้อเท็จจริง • ไม่ได้มีการปฏิบัติการตามแผน จากความขัดแย้งทางแนวคิด และค่านิยมของกลุ่มเป้าหมายกับรัฐ
บทเรียนของการประเมินโครงการบทเรียนของการประเมินโครงการ • จากกรณีตัวอย่าง...ประเทศสหรัฐอเมริกา สรุปว่าโครงการไม่มีประสิทธิภาพ ต้องรู้ว่า... • 1. มีการนำไปสู่การปฏิบัติจริงหรือไม่2. ควรมีการตรวจสอบ • ความเหมาะสมของโครงการกับกระบวนการปฏิบัติ • ความเหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ • ปัญหาด้านการเมืองและความเชื่อ
ปัญหาของโครงการเชิงสังคมปัญหาของโครงการเชิงสังคม 1. การไม่บรรลุผลตามที่ต้องการ(ปฏิบัติแล้ว...ไม่สำเร็จ)2. ความล้มเหลวในการนำไปปฏิบัติ (ไม่สามารถปฏิบัติได้ตามแผน) การประเมินกลางน้ำ...มีความสำคัญต่อการแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้
การประเมินกลางน้ำ (Midstream Evaluation) • เป็นการประเมินระหว่างการดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการ มีชื่อเรียกที่แตกต่างกัน เช่น • Implementation Evaluation • Process Evaluation • OngoingEvaluation • FormativeEvaluation ฯลฯ
จุดมุ่งหมายของการประเมินกลางน้ำ 1. เพื่อช่วยให้โครงการดำเนินไปตามแผนการที่กำหนด 2. เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการทบทวนแผน ปรับปรุงแผน การดำเนินงานในโครงการ 3. เพื่อช่วยเสนอแนะการแก้ไขปัญหาหรืออุปสรรคที่อาจ เกิดขึ้นในระหว่างการเริ่มดำเนินการตามแผนงาน/ โครงการ หรือในระหว่างการดำเนินงานตามแผนงาน/ โครงการ
การศึกษาของ Provus (1971) ชี้ให้เห็นความสำคัญว่าควรมีการประเมินการปฏิบัติการของโครงการก่อนการประเมินผลลัพธ์ของโครงการ และได้เสนอไว้ในโมเดลการประเมินความแตกต่าง (Discrepancy Evaluation Model) การประเมินโครงการทั่วไปมักยึดแนวทางการประเมินแบบเน้นผลลัพธ์เป็นหลัก
การเปรียบเทียบผลการปฏิบัติกับมาตรฐานการเปรียบเทียบผลการปฏิบัติกับมาตรฐาน Sยุติกิจกรรม C D (2) ดำเนินการขั้นต่อไป (1) เริ่มต้นงาน P (A) พัฒนาเปลี่ยนแปลง S คือ Standardเกณฑ์มาตรฐาน P คือ Program Performance การดำเนินงานของโครงการ C คือ Comparison การเปรียบเทียบD คือ Discrepancy Informationสารสนเทศที่แสดงความแตกต่าง A คือ Alternativeทางเลือกเพื่อการเปลี่ยนแปลง
แบบจำลอง Provus (1967)Evaluation of Ongoing Programs in the Public School System S T S T 1 C D 2 C D 3 P P A A S คือ Standardเกณฑ์มาตรฐาน P คือ Program Performance การดำเนินงานของโครงการ C คือ Comparison การเปรียบเทียบD คือ Discrepancy Informationสารสนเทศที่แสดงความแตกต่าง T คือ Terminateยกเลิก A คือ Alternativeทางเลือกเพื่อการเปลี่ยนแปลง
แบบตัวอย่างการประเมินผลของ Provus(Provus,sDiscrepency Evaluation Model) S DecisionMaking D C P
แนวทางการประเมินกลางน้ำแนวทางการประเมินกลางน้ำ • 1. การประเมินความพยายาม (The Effort Approach) • ปริมาณและกิจกรรมที่จัดขึ้นเป็นไปตามที่กำหนดไว้หรือไม่ • มีการจัดสรรวัสดุ อุปกรณ์ และงบประมาณในการจัด กิจกรรมอย่างเพียงพอและเหมาะสมหรือไม่ • ความพร้อมของสถานที่จัดกิจกรรม ฯลฯ
แนวทางการประเมินกลางน้ำ (ต่อ) • 2. การประเมินกระบวนการ (The Process Approach) • ต้องการทราบว่าผลที่ได้จากโครงการเกิดขึ้นได้อย่างไร มากกว่าที่จะทราบเพียงมีผลอะไรเกิดขึ้นจากโครงการ เท่านั้น • มุ่งหาสาเหตุหรือเงื่อนไขที่ก่อให้เกิดผลของโครงการ • เห็นได้ชัดเจนจากโมเดลการประเมินโครงการตามแนวคิด ของ Stufflebeam (1970)
Out comes/ Impacts Contexts Inputs Processes Outputs Feedback ขอบข่ายการประเมิน… บริบทที่ เกี่ยวข้อง เช่นสภาพ ชุมชน สังคม ฯลฯ ผลโครงการ ความสำเร็จ ตามวัตถุ ประสงค์ ฯลฯ ตัวโครงการ ความพร้อม บุคลากร งบประมาณ ฯลฯ ขั้นตอน การดำเนิน โครงการ การประสาน ติดตาม ฯลฯ คุณลักษณะ ที่เกิดใน กลุ่มเป้าหมาย การนำผลไป ใช้ต่อตนเอง สังคม ฯลฯ
CIPP MODEL ContextEvaluationประเมินเนื้อความ ประเมินผลพื้นฐานเกี่ยวกับการค้นหาข่าวสาร นำไปสู่การพัฒนาเป้าหมายโครงการ นักประเมินจัดรวบรวมข้อมูลให้หัวหน้าโครงการ เช่น ข้อมูลสิ่งแวดล้อม สภาพปัญหาฯ InputEvaluationการประเมินตัวป้อน ประเมินผลเพื่อค้นหาตัวประกอบ หรือแนวทางที่เหมาะสม หรือมีประสิทธิภาพ ที่อำนวยให้โครงการดำเนินการไปตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ (บรรลุเป้าหมายของโครงการ) เช่น เงินทุนบุคลากร ผู้รับริการ ผู้ให้บริการ ทรัพยากรอื่นๆ Process Evaluationการประเมินผลกระบวนการ ประเมินเพื่อค้นหาข่าวสารแนวทาง หรือวิธีปฏิบัติ สำหรับโครงการเป็นไปตามแผนที่วางไว้ได้อย่างไร Product Evaluationการประเมินผลผลิต วัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์จากโครงการกับเกณฑ์ที่ตั้งไว้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการอย่างไร อาศัยการเปรียบเทียบผลผลิตกับเกณฑ์มาตรฐาน และอาศัยรายงานการประเมินผลจากข้อมูลที่ได้จาก Context, Input, Process Evaluation
รูปแบบของ Stufflebeam (1970) (CIPP Model) การประเมินสภาพแวดล้อมของโครงการ เลือก/ปรับวัตถุประสงค์ (Context Evaluation) การประเมินปัจจัยเบื้องต้น เลือกแบบ/กิจกรรม (Input Evaluation) ปรับเปลี่ยนปัจจัยเบื้องต้น การประเมินกระบวนการ ปรับปรุงแผนงานหรือ (Process Evaluation) กระบวนการทำงาน การประเมินผลผลิต ปรับปรุง/ขยาย/ล้มเลิก/ (Product Evaluation) ยุติโครงการ ประเภทของการประเมิน ลักษณะการตัดสินใจ
ประโยชน์การนำไปใช้ แบบจำลอง Stufflebeam
การพิจารณาประเด็นการประเมินจากสิ่งที่เกี่ยวข้องทั้งหมดการพิจารณาประเด็นการประเมินจากสิ่งที่เกี่ยวข้องทั้งหมด สิ่งที่เกี่ยวข้องกับโครงการ ประเด็นที่ต้องประเมิน 1.ตัวแผน หรือ โครงการ ความสมบูรณ์ ของเนื้อหา ในแผน โครงการ ความชัดเจน ของส่วนประกอบ ความสอดคล้อง กับแผนแม่บท ความสอดคล้อง ระหว่างส่วนประกอบ 2. สิ่งป้อนเข้า (Input) เจ้าหน้าที่ ความสามารถ ของเจ้าหน้าที่ งบประมาณ ความเพียงพอ ของงบประมาณ เทคนิควิธี ความเหมาะสม ของเทคนิควิธีการ พื้นที่ตั้งของโครงการ ความเหมาะสม ของพื้นที่ตั้งโครงการ กลุ่มเป้าหมายที่ศึกษา ความคิดเห็น (การมีส่วนร่วม/ความพึงพอใจ)
การพิจารณาประเด็นการประเมินสิ่งที่เกี่ยวข้องทั้งหมด (ต่อ) สิ่งที่เกี่ยวข้องกับโครงการ ประเด็นที่ต้องการประเมิน 3. การบริหารโครงการ การดำเนินงานตามแผน การติดตามกำกับงาน การประสานงานระหว่างหน่วยงาน 4. ศึกษาผลที่ได้จากโครงการ ผลโดยตรง ผลทางอ้อม ผลกระทบ
แนวทางการประเมินกลางน้ำ (ต่อ) • 3. การประเมินสิ่งที่ต้องปฏิบัติในโครงการ (The Treatment Specification Approach) • ตามแนวคิดของ Patton (1978) หมายถึง ตัวแปรอิสระ หรือตัวแปรต้น (Independent Variables) ที่คาดว่าจะ ก่อให้เกิดผลตามมาคือตัวแปรตาม (Dependent Variables) • ประเมินความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลของโครงการ
วิธีการประเมินกลางน้ำ(Method for Midstream Evaluation) 1. การติดตาม (Monitoring) 2. การประเมินผล (Evaluation) A. Leksansern
วิธีการประเมินกลางน้ำวิธีการประเมินกลางน้ำ • 1. การติดตาม (Monitoring)การเก็บรวบรวมข้อมูลการปฏิบัติงานตามแผนเพื่อตอบ คำถามหลัก คือ • ปฏิบัติงานตามแผนที่กำหนดหรือไม่ • ได้รับทรัพยากรครบถ้วนหรือไม่ • ได้ผลตรงตามที่กำหนดหรือไม่ข้อมูลจากการติดตามใช้ในการเร่งรัดให้โครงการดำเนินไปอย่างตรงตามเป้าหมาย และเสร็จตามเวลาที่กำหนด A. Leksansern
การติดตาม (Monitoring) จำแนกได้เป็น1. ด้านปัจจัยได้รับปัจจัยหรือทรัพยากรภายในเวลาที่กำหนดหรือไม่ (ทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ) • 2. ด้านกิจกรรม • ปฏิบัติงานตามแผนที่กำหนดไว้หรือไม่3. ด้านการดำเนินงานได้ผลงานตรงตามแผนหรือไม่ A. Leksansern
ด้านปัจจัย การปฏิบัติงานตามแผนงาน/โครงการ การติดตามผล ผลการดำเนินงาน ปัญหา/อุปสรรค ด้านกิจกรรม ด้านผลการดำเนินงาน ปรับปรุงและพัฒนา รูปแบบของการติดตามผล A. Leksansern
กรณีตัวอย่างการติดตามโครงการของ สสส. สสส. ได้จัดให้มีระบบติดตามงานของตนเอง โดยการออกแบบตามความจำเป็นและความเหมาะสมกับงานสร้างเสริมสุขภาพของ สสส. เพื่อเป็นเครื่องมือที่เอื้อประโยชน์ต่อการบริหารงานของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย A. Leksansern
วัตถุประสงค์ของระบบติดตามงานของ สสส. 1. เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยผู้รับผิดชอบโครงการกำหนด กิจกรรม และวางแผนเป้าหมายโครงการได้อย่างชัดเจน ในขณะเดียวกันช่วยกระตุ้น กำกับทีมงานให้ดำเนินงาน ตามแผนที่กำหนด และช่วยรวบรวมหลักฐานในการจัดทำ รายงาน เพื่อแสดงผลงาน และพร้อมรับการตรวจสอบ ประเมินผล A. Leksansern
วัตถุประสงค์ของระบบติดตามงานของ สสส. (ต่อ) 2. เพื่อเป็นเครื่องมือสนับสนุนผู้จัดการแผนงาน ในการทราบ ความก้าวหน้าหรือปัญหาอุปสรรคของแต่ละโครงการ และ การให้ความช่วยเหลือได้ทันท่วงที 3. เพื่อ สสส. และคณะกรรมการบริหารแผน ทราบความ ก้าวหน้าของงานที่ให้การสนับสนุน และบริหารงานได้ อย่างมีข้อมูล รวมทั้งคณะกรรมการประเมินผลและ ทีมประเมินผลสามารถอ้างอิงข้อมูลเพื่อการประเมินผล ได้อย่างมั่นใจ A. Leksansern
Plan แผน แผนงาน1 แผนงาน2 แผนงาน...n • Program โครงการ1 โครงการ2 โครงการn • Project • Activity กิจกรรม1 กิจกรรม2 กิจกรรมn ความสัมพันธ์ระหว่างแผนและโครงการ…
ระบบติดตามงานของ สสส. ระบบติดตามงานของ สสส. กำหนดมาตรฐานไว้ 2 ด้าน คือ1) ด้านความก้าวหน้าโครงการ และ 2) ด้านผลงานโครงการ ประกอบด้วยเครื่องมือสำคัญ 3 ส่วน คือ 1. แบบบันทึกข้อมูลและรายงานความก้าวหน้าโครงการ (ป. 1) เพื่อระบุกิจกรรมสำคัญและรายละเอียดการดำเนินงานก่อนเริ่มโครงการ 2. แบบบันทึกข้อมูลและรายงานความก้าวหน้าโครงการ (ป. 1)เพื่อรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานตามกิจกรรมที่กำหนดไว้ 3. แบบรายงานผลงานและผลลัพธ์ของการดำเนินโครงการ (ป .2)ใช้เมื่อสิ้นสุดโครงการ A. Leksansern
ประเด็นในการติดตาม • ประเด็นในการติดตาม ได้แก่ • ระยะเวลา • งบประมาณ • กิจกรรมสำคัญ ผลลัพธ์ ผลสำเร็จที่เกิดขึ้น • ปัญหา อุปสรรคที่เกิดขึ้น A. Leksansern
แบบรายงานที่ภาคีจัดส่งให้ สสส. แบบที่เป็นการรายงานการดำเนินการ ได้แก่ - แบบรายงานความก้าวหน้ารายงวด (ส.1) - แบบสรุปรายงานความก้าวหน้าโครงการย่อย (ส.3)แบบที่เป็นรายงานการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล เฉพาะโครงการที่มีขนาดเล็ก ได้แก่ - แบบบันทึกข้อมูลและความก้าวหน้า (ป.1) - แบบรายงานความก้าวหน้าประจำเดือนของแผนงาน กรณีมีโครงการย่อย (ป.3) A. Leksansern