310 likes | 1.34k Views
ตัวเก็บประจุ ( capacitor ). ตัวเก็บประจุ ( capacitor ). ตัวเก็บประจุจะประกอบไปด้วย แผ่นโลหะตัวนำ 2 แผ่น วางห่างกัน โดยมี สารไดอิเล็กทริกกั้นอยู่ ระหว่างแผ่นตัวนำทั้ง 2
E N D
ตัวเก็บประจุ ( capacitor ) • ตัวเก็บประจุจะประกอบไปด้วยแผ่นโลหะตัวนำ 2 แผ่นวางห่างกันโดยมีสารไดอิเล็กทริกกั้นอยู่ระหว่างแผ่นตัวนำทั้ง 2 • ตัวเก็บประจุเป็นอุปกรณ์ที่สามารถเก็บประจุไฟฟ้าได้มีการนำไปใช้ในวงจรแรงดันวงจรกรองความถี่ใช้ในการถ่ายทอดสัญญาณ (coupling)
ตัวเก็บประจุกับคุณสมบัติทางไฟฟ้าตัวเก็บประจุกับคุณสมบัติทางไฟฟ้า • แรงเคลื่อนไฟฟ้าจึงไม่สามารถตกคร่อมคาปาซิเตอร์ได้ในทันทีทันใดหากแต่ต้องใช้เวลาให้มันค่อยๆเปลี่ยนแปลงประจุไฟฟ้า • ตัวอย่าง เมื่อป้อน 6 v คาปาซิเตอร์จะค่อยๆชาร์จประจุจาก 0 – 6 โวลต์เมื่อแรงเคลื่อนถึงจุดสูงสุดแล้วกระแสไฟฟ้าจะไม่สามารถไหลเข้าไปคาปาซิเตอร์ได้อีกต่อไป • หน่วยความจุ (unit of capacitance)มีหน่วยเป็นฟารัด (Farad) มาจากการรับกระแสไฟฟ้า 1 แอมป์ในเวลา 1 วินาทีแล้วทำให้เกิดความต่างศักย์ทางไฟฟ้าระหว่างอิเล็กโทรดและมีประจุคงอยู่เท่ากับ 1 คูลอมบ์
การเลือกใช้งานตัวเก็บประจุต่างๆการเลือกใช้งานตัวเก็บประจุต่างๆ • เนื่องจากตัวเก็บประจุมีหลายชนิดการเลือกใช้ตัวเก็บประจุผิดประเภทของงานอาจทำให้วงจรเกิดความไม่สมบูรณ์ขึ้นได้ • บางครั้งอาจเกิดการระเบิดจนทำลายวงจรก็มี โดยเฉพาะ ตัวเก็บประจุตัวโตๆ ที่ทนแรงดันสูงๆผู้ใช้ต้องระมัดระวังอย่าต่อผิดขั้ว หรือให้แรงดันเกินพิกัดเด็ดขาด
ชนิดของตัวเก็บประจุ • 1.อิเล็กโทรไลต์ -ใช้ในวงจรกรองแรงดันไฟตรงที่ได้จากการ rectify -ใช้ในการ coupling สัญญาณ
2.แทนทาลัม -ใช้ในงานที่ต้องการความแม่นยำของความถูกต้องสูง • 3.เซรามิกส์ - ใช้ในวงจรเรโซแนนซ์ • -ใช้ในวงจรความถี่สูง
4.โพลีเอสเตอร์ -ใช้งานได้ทั่วๆไป - มีค่าให้เลือกใช้มากมาย • 5. โพลีสไตรีน -ใช้ในวงจรจูนหรือออสซิลเลเตอร์ -ใช้ในวงจรที่มีแรงดันสูง
6.โพลีโพรไพลีน - อินเวอร์เตอร์กำลังสูงๆ -converter
ค่า capacitance ค่า capacitance ของคาปาซิเตอร์หนึ่งฟารัดก็คือความสามารถของคาปาซิเตอร์ที่จะสามารถเก็บประจุได้ถึง 1 คูลอมบ์ จากสมการ c = ค่าคาปาซิแตนซ์มีหน่วยเป็นฟารัด V = โวลต์ Q = ประจุ A = พื้นที่ของเพลตโลหะเป็นตารางนิ้ว d = ค่าความห่างระหว่างเพลตโลหะทั้งสองเป็นนิ้ว = ค่า permittivity ของฉนวนที่อยู่ระหว่างเพลตทั้งสอง
ค่ารีแอกแตนซ์ ค่ารีแอกแตนซ์ของตัวเก็บประจุณความถี่ใดๆ การคำนวณค่ารีแอกแตนซ์ของตัวเก็บประจุจะใช้สูตร โดยที่ คือค่ารีแอกแตนซ์ของตัวเก็บประจุมีหน่วยเป็นโอห์ม f คือความถี่มีหน่วยเป็นเฮิรตซ์ ( Hz) C คือความจุมีหน่วยเป็นฟารัด
การคำนวณตัวเก็บประจุ ต่อแบบขนาน
ต่อแบบอนุกรม NOTE: การคำนวณของ R และ C จะตรงกันข้าม