410 likes | 572 Views
การดำเนินงาน ในกลุม ผู้ใช้ ยาเสพติด ชนิดฉีด Harm Reduction นำเสนอผู้ตรวจราชการเขต12. Pitchaya Suksakorntanawat Harm reduction clinic Tanyaruk Khon Kaen Hospital 30 Aug2012. นโยบายการลดอันตรายจากการใช้ ยาเสพติด.
E N D
การดำเนินงานในกลุมผู้ใช้ยาเสพติดชนิดฉีดHarm Reductionนำเสนอผู้ตรวจราชการเขต12 PitchayaSuksakorntanawat Harm reduction clinic TanyarukKhonKaen Hospital 30 Aug2012
นโยบายการลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติดนโยบายการลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติด เริ่มขับเคลื่อนใน10 จังหวัดนำร่องในภาคกลางภาคเหนือและภาคใต้ได้แก่ กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ เชียงราย เชียงใหม่ ตาก สุราษฎร์ธานี สงขลา ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส เป้าประสงค์ เพื่อลดการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มผู้ใช้ยาเสพติดด้วยวิธีฉีด ด้วยมาตรการที่คำนึงถึงหลักการพื้นฐานเรื่องสิทธิมนุษยชน ตัวชี้วัดและเป้าหมาย: จำนวนผู้ติดเชื้อ เอชไอวี รายใหม่ในกลุ่มผู้ใช้ยาเสพติดด้วยวิธีฉีดลดลงครึ่งหนึ่งภายในปี พ.ศ. 2559
ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ ในการนำนโยบายลดอันตรายจากการ ใช้ยาเสพติดสู่การปฏิบัติได้กำหนดยุทธศาสตร์ 3 ด้าน 1. ยุทธศาสตร์ การบริการแบบบูรณาการและครบวงจร 2. ยุทธศาสตร์ การบริการเชิงรุก 3. ยุทธศาสตร์ การศึกษาวิจัยและประเมินผล
วัตถุประสงค์ 1 เพื่อให้ผู้ใช้ยาเสพติดด้วยวิธีฉีดเข้าถึงบริการแบบรอบด้านของการลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติด ตัวชี้วัด: จำนวนผู้ใช้ยาเสพติดด้วยวิธีฉีดที่ได้รับบริการอย่างน้อย 9 อย่างในการลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติด 2 เพื่อลดการแพร่กระจายของเชื้อเอชไอวีในกลุ่มผู้ใช้ยาเสพติดด้วยวิธีฉีดและกับผู้ที่มีเพศสัมพันธ์ ตัวชี้วัด: 2.1 ร้อยละของผู้ใช้ยาเสพติดด้วยวิธีฉีดที่รายงานว่าใช้เข็มและอุปกรณ์ฉีดยาที่สะอาด ในการใช้ยาเสพติดแบบฉีดครั้งล่าสุด 2.2 ร้อยละของผู้ใช้ยาเสพติดด้วยวิธีฉีดรายงานว่าใช้ถุงยางอนามัยในการมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด
วัตถุประสงค์ 3 เพื่อลดจำนวนผู้ใช้ยาเสพติดด้วยวิธีฉีด ตัวชี้วัด:ร้อยละของผู้ใช้ยาเสพติดชนิดฉีดที่รับบริการเมทาโดนอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อย 12 เดือน 4 เพื่อลดอัตราการเกิดอาชญากรรมจากผู้ใช้ยาเสพติดด้วยวิธีฉีด ตัวชี้วัด:ร้อยละที่ลดลงของการเกิดอาชญากรรมจากผู้ใช้ยาเสพติด
แนวทางการดำเนินงานสำคัญแนวทางการดำเนินงานสำคัญ • พัฒนาระบบการบริการแบบบูรณาการและครบวงจร ในเรื่องการป้องกันและบำบัดรักษาเอชไอวี เอดส์ และ ยาเสพติด – แบบ One Stop Service • บริการที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและการรักษาการติดเชื้อเอชไอวีเอดส์ และยาเสพติด ที่ครอบคลุมใน 9 ด้าน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ลดการระบาดของเชื้อเอชไอวี รวมทั้งเชื้อไวรัสตับอักเสบชนิดซี และชนิดบีในกลุ่มผู้ใช้ยาเสพติดด้วยวีฉีดและผู้ทีมีเพศสัมพันธ์ด้วย ส่งผลต่อการลดปัญหาเอดส์ของประเทศ 2.ผู้ใช้ยาเสพติดด้วยวิธีฉีดได้รับบริการลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติดแบบครบวงจร จะมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น รวมทั้งสามารถกลับมาทำงานได้ 3.ลดอัตราการเกิดอาชญากรรมจากผู้ใช้ยาเสพติดด้วยวิธีฉีด
การลดอันตราย Harm Reduction การลดความเสี่ยง Risk Reduction
Chronic, Relapsing and Treatable brain disease โรคเรื้อรัง , เป็นๆหายๆ(เสพซ้ำ) , รักษาได้ 20% Abstinence 80% Relapsing Treatment 3-10 years 50% หยุดได้ / เลิกได้ 40% เสียชีวิต : โรคแทรกซ้อน, อุบัติเหตุ, ถูกฆ่าตาย, อื่นๆ 10% เป็นบ้า , อยู่ตามถนน , คนจรจัด
What Harm ? Who Harm ? Harm Whom ?
อันตราย พฤติกรรม illegal drug use ( IDU) HIV infection แลกเข็มสะอาด:Needle exchange (Sterile syringe access) ห้องฉีดยาที่ปลอดภัย:Safer injection room
อันตราย พฤติกรรม ยาเสพติดที่ผิดกฎหมาย ปัญหาสุขภาพสังคมเศรษฐกิจ MMT:เมทาโดนทดแทนระยะยาว Heroine Maintenanceเฮโรอีนทดแทน SafeDance (Ecstacy)เต้นอย่างปลอดภัย SafeDrink (Alcohol)ดื่มปลอดภัย:อันตรายน้อย สุด
ยาเสพติด ( illegal drugs) คลินิกลดอันตราย Harm reduction clinic การใช้สารอื่นทดแทน ( Substitute therapy) ภายใต้กรอบของกฎหมาย Heroin Methadone maintenance Methamphetamine ?? Challenge ATS?
แนวทางการลดอันตรายจากการใช้ยาแนวทางการลดอันตรายจากการใช้ยา 1.การให้สุขศึกษาและข้อมูลรายบุคคล 2. การใช้กระบวนการกลุ่มให้ความรู้กลุ่มผู้ใช้ยาเสพติด 3. การบริการสาธารณสุขพื้นฐาน 4. การบริการเชิงรุก 5. การบำบัดรักษาฟื้นฟูจากยาเสพติด 6. การให้ยาทดแทนเมทาโดนระยะยาว 7. บริการถุงยางอนามัย 8..การใช้อุปกรณ์สะอาด 9.การให้คำปรึกษาและตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวีแบบสมัครใจ 10. ศูนย์ลดอันตรายจากการใช้ยา (Drop in center)
แนวทางการดำเนินงานด้านการลดอันตรายจาก การใช้ยาในปี 2554-55 • วัตถุประสงค์ • เพื่อลดการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มผู้ใช้ยาเสพติดด้วยวิธีการฉีด • เพื่อพัฒนาระบบการป้องกันและบำบัดรักษาการติดเชื้อเอชไอวีเอดส์ และยาเสพติดแบบองค์รวม
บริการ 10 ด้าน 1.การให้ความรู้เพื่อสร้างความเข้าใจ ความตระหนัก และการประเมินความเสี่ยงของตนเอง รวมถึงการฝึกทักษะการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี และยาเสพติด (Information Education and Comunication:IEC) 2.การบำบัดรักษายาเสพติดโดยใช้สารทดแทนระยะยาว (MMT) 3.การใช้เข็มและอุปกรณ์ฉีดที่สะอาด (NSP) 4.การแจกถุงยางอนามัย 5.การให้คำปรึกษา และตรวจการติดเชื้อเอชไอวีโดยสมัครใจ(VCT) และส่งต่อรับบริการดูแลรักษา
บริการ 10 ด้าน 6.การตรวจและรักษา วัณโรค 7.การตรวจและรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 8.กิจกรรมกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน 9.การให้บริการรักษาด้านจิตเวชและการให้คำปรึกษาแนะนำเกี่ยวกับยาเสพติด 10.การบำบัดรักษาและฟื้นฟูสรรถภาพรวมถึงกิจกรรมกลับสู่สังคม และการป้องกันการเสพติดซ้ำ
ตัวชี้วัดสำคัญ • ลดการแพร่ระบาดของผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ในกลุ่มผู้ใช้ยาเสพติดด้วยวิธีการฉีดลง ร้อยละ 50 • มีจำนวนผู้ใช้ยาเสพติดด้วยวิธีการฉีดเข้าสู่ระบบบริการของรัฐเพิ่มขึ้น
ผลการดำเนินงานด้านการลดอันตรายจาก การใช้ยาในปี 2554-2555 1.อบรมวิทยากรหลักเรื่องการลดอันตรายจาการใช้ยาเสพติดและขยายบริการในภาคกลาง ภาคเหนือและภาคใต้ที่มีกลุ่มเป้าหมาย(IDU) โดยกองทุนโลกสนับสนุนงบประมาณผ่านกรมควบคุมโรค และสถาบันธัญญารักษ์ 2.คลินิกลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติด โรงพยาบาลธัญญารักษ์ขอนแก่น -พัฒนารูปแบบบริการMMT -ให้บริการดูแลผู้ใช้ยาเสพติดที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อHIV และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การดำเนินงานด้านการลดอันตรายจาก การใช้ยาในปี 2554-2555 3.เครือข่ายบริการที่เป็นมิตรสำหรับเยาวชน 12-24 ปี ของมูลนิธิไทยอาทรขอนแก่น
ผลการให้บริการผู้ใช้ยาที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อ (IDU) ปี 2554
การให้บริการผู้ใช้ยาที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อHIV(IDU) ปี 2555 เข้ารับบริการ 19 คนข้อมูลทั่วไปของผู้รับบริการ
พฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการใช้ยาฉีด 1 เดือนก่อนมา
พฤติกรรมการมีเพศสัมพันธ์และการใช้ถุงยางอนามัยพฤติกรรมการมีเพศสัมพันธ์และการใช้ถุงยางอนามัย
พฤติกรรมการมีเพศสัมพันธ์และการใช้ถุงยางอนามัยกับคู่นอนประเภทต่างๆพฤติกรรมการมีเพศสัมพันธ์และการใช้ถุงยางอนามัยกับคู่นอนประเภทต่างๆ
ผลการบริการ ณ เดือน สิงหาคม 55 • IDU 19 ราย • ส่งต่อ 4 ราย กลับต่างประเทศ 2 ราย • เปลี่ยนไปสูบ 2 ราย จ. ขอนแก่น • หยุดเสพ 2 ราย จ.สุรินทร์ ,ขอนแก่น • คงเสพ 4 ราย (จ.กาฬสินธ์,ฃอนแก่น,เพชรบูรณ์,ศรีสะเกษ) • หลบหนี 1 ราย จ. ขอนแก่น • MMT 4 ราย จ. ขอนแก่น
การดำเนินการเฝ้าระวังการติดเชื้อHIV รอบที่30 เดือนมิถุนายน 2555 กลุ่มเป้าหมาย • IDU 4 คน Positive 1 ย้ายถิ่นมาจากจันทบุรี • DU 47 คน Positive 1 รายใหม่ ลักลายใน เรือนจำ สถานการณ์ การดูแลผู้ติดเชื้อHIV ใน Harm Clinic IDU 1 รายเสพฝิ่น รับ MMT DU 2 ราย(ส่งต่อ รพ.ชัยภูมิ 1 ราย,ภูมิลำเนาจ.เลย 1 ราย ) ยังไม่ได้ARV ไม่มีอาการ CD4 ระดับปกติ
การให้บริการด้านสุขภาพในคลินิก 1.บริการความรู้และข้อมูลข่าวสาร (IEC) 2.MMT 3. การบำบัดรักษายาเสพติด จิตสังคมบำบัด 4.การสอน ทำความสะอาดอุปกรณ์(ไม่มีแจก) 5. การสนับสนุนถุงยางอนามัย 6. การตรวจคัดกรองHep B,C 7.การตรวจคัดกรองวัณโรค 8. การตรวจคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 9.การตรวจคัดกรองอากการทางจิตเวช
การให้บริการด้านสุขภาพ • 10.บริการ VCT และตรวจหาการติดเชื้อHIV • 11.บริการดูแลรักษาและส่งต่อผู้ติดเชื้อ
ผลการดำเนินงานคลินิกลดอันตรายศูนย์ฯขอนแก่นผลการดำเนินงานคลินิกลดอันตรายศูนย์ฯขอนแก่น • เปิดคลินิกลดอันตรายปี 2548 • ร่วมทำหลักสูตรIDU Harm กับสำนักเอดส์ ที่ จ.นครนายก • จัดทำคู่มือVCTร่วมกับThai harm reduction Network • 2549บริการลดอันตรายจากสุราด้วยโปรแกรมสร้างเสริมแรงจูงใจ โปรแกรมปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรมเพื่อลดอันตราย จากสุราจนถึงปัจจุบัน • 2550จัดอบรมถ่ายทอดหลักสูตรการลดอันตรายแก่ผู้บำบัดในสถานบริการภาคตะวันออกเฉียงเหนือ16 จังหวัด 105 คน
ผลการดำเนินงาน 2550 นำเสนอผลการบำบัดโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลด อันตรายจากสุราในการประชุมสุราระดับชาติครั้งที่3 จัดโดยศูนย์วิจัยปัญหาสุรา 2551จัดอบรมถ่ายทอดหลักสูตรการลดอันตรายแก่ผู้บำบัดใน สถานบริการภาคตะวันออกเฉียงเหนือ16จังหวัด 50 คน 2552 จัดอบรมถ่ายทอดหลักสูตรการลดอันตรายแก่ผู้บำบัดใน สถานบริการภาคตะวันออกเฉียงเหนือ16จังหวัด 2รุ่น 83 คน -สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ขอนำผลการบำบัดโดยการสร้างแรงจูงใจตีพิมพ์วารสารปี2552 -นำเสนอนวัตกรรมแห่งความยั่งยืนในการป้องกันเอดส์ในผู้ใช้ ยาเสพติดในการดำเนินโครงการพัฒนาการลดอันตรายจาการใช้ยาฯ 2 ธันวาคม 52 ณ สถาบันธัญญารักษ์
ผลการดำเนินงาน • 2553 ศึกษาดูงานHarm reduction ณ กรุงฮานอยประเทศเวียดนาม 10-12 มีนาคม 2553 • นำเสนอนวัตกรรมการสร้างความเข้มแข็งยั่งยืนด้วยเครือข่ายลดอันตราย ในการประขุมวิชาการลดอันตรายระดับชาติ(ภาคกลาง)วันที่8-9มิถุนายน2553 ณ โรงแรมหินสวยน้ำใส จ.ระยอง • นำเสนอนวัตกรรมการสร้างความเข้มแข็งยั่งยืนด้วยเครือข่ายลดอันตราย ในการประขุมวิชาการลดอันตรายระดับชาติ(ภาคใต้) รวันที่14-15 กันยายน 2553 ณ โรงแรมมารีไทม์ปาร์คจังหวัดกระบี่
ผลการดำเนินงานด้าน Harm IDU • พัฒนาระบบฐานข้อมูลในการให้บริการและติดตามผู้ใช้ยาเสพติดร่วมกับสอวพ.ปี 2552-ปัจจุบัน • พัฒนาหลักสูตรการลดอันตรายระดับชาติร่วมกับสถาบันธัญญารักษ์และเครือข่ายบริการ • 2554 จัดทำ(ร่าง)เกณฑ์มาตรฐานDrop in Center ร่วมกับสถาบันธัญญารักษ์และศตส.สธ ในวันที่16-17 กุมภาพันธ์ 2554 • 2554 ร่วมเป็นวิทยากรกองทุนโลก อบรมหลักสูตร การลดอันตรายจาการใช้ยาเสพติดให้แก่ผู้ปฏิบัติงานยาเสพพติดภาคกลางที่จ.กาญจนบุรี
ผลการดำเนินงาน • 2554 นำเสนอผลงานเรื่องผลการสร้างแรงจูงใจให้ผู้ใช้ยาเข้าสู่บริการลดอันตราย ในการประชุมวิชาการยาเสพติด สถาบันธัญญารักษ์ ณ เมืองทองธานี
ผลิตเอกสารและคู่มือประกอบการบริการและใช้ อบรมถ่ายทอดแก่เครือข่ายในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ (ศูนย์ลดอันตราย Drop in Center) คลินิกลดอันตราย ศูนย์บำบัดรักษายาเสพติดขอนแก่น