950 likes | 1.24k Views
โครงการ กวาดล้าง โปลิโอ และ โรคหัด Polio and Measles Eradication Projects. ศูนย์ประสานงานโครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด ตามพันธะสัญญานานาชาติ. X. http://thaigcd.ddc.moph.go.th/. http://thaigcd.ddc.moph.go.th/. ฉีดวัคซีน MMR 9 เดือน และนักเรียน ป.1. การป้องกัน. หัด (Measles).
E N D
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัดPolioandMeaslesEradicationProjects ศูนย์ประสานงานโครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด ตามพันธะสัญญานานาชาติ
X http://thaigcd.ddc.moph.go.th/
ฉีดวัคซีน MMR 9 เดือน และนักเรียน ป.1 การป้องกัน หัด (Measles) สาเหตุ Measles Virus การติดต่อ ทางการหายใจ (air borne) ระยะฟักตัว 8 - 12 วัน เฉลี่ยจากวันที่สัมผัสถึงออกผื่น 14 วัน ไข้ (ก่อน) น้ำมูกไหล ไอแห้งๆ ตลอดเวลา ตาแดงแฉะและกลัวแสง ที่กระพุ้งแก้มพบจุดขาวๆ ขอบแดง (Koplik,s spots) 1-2 วัน ก่อนออกผื่นนูนแดงติดกันเป็นปื้นๆ แล้วสีจะเข้มขึ้น (maculo-papular) โดยเริ่มจากหลังหู แล้วลามไปที่หน้าชิดขอบผม ลำตัว แขน ขา กินเวลา 2-3 วัน แล้วไข้จึงเริ่มลด อาการ 1-2 วันก่อนเริ่มมีอาการ (3-5 วันก่อนผื่นขึ้น-ผื่นขึ้นแล้ว 4 วัน) ระยะติดต่อ
การกำจัดโรคหัด • เพิ่มและรักษาระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนหัดไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95 ในทุกพื้นที่ • จัดตั้ง เครือข่ายการตรวจเชื้อหัดทางห้องปฏิบัติการ ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานทั่วประเทศ • เฝ้าระวังผู้ป่วยโรคหัด โดยมีการตรวจยืนยันเชื้อก่อโรคทางห้อง ปฏิบัติการในผู้ป่วยที่สงสัยโรคหัด ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ในทุกพื้นที่ • รณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคหัด หรือมาตรการเสริมอื่น เช่น การบริการวัคซีน ในประชากรวัยทำงาน เพื่อเพิ่มระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในประชากรกลุ่มเสี่ยง
สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
การกำจัดโรคหัด (measles elimination) การไม่พบผู้ป่วยโรคหัดที่ติดเชื้อภายในประเทศ (Endemic measles case) ติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน 12 เดือนขึ้นไป ภายใต้ระบบเฝ้าระวังโรคหัดที่มีประสิทธิภาพ
ความสำคัญของการเฝ้าระวังโรคหัดความสำคัญของการเฝ้าระวังโรคหัด เป็นเครื่องมือหนึ่งเพื่อนำไปสู่กำจัดโรคหัด • ติดตามสถานการณ์โรค • บ่งชี้ประชากรกลุ่มเสี่ยง • ตรวจจับการระบาดและควบคุมโรคอย่างรวดเร็ว
ระบบเฝ้าระวังโรคหัดที่มีประสิทธิภาพระบบเฝ้าระวังโรคหัดที่มีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด • อัตราการรายงานผู้ป่วยสงสัยโรคหัด • การตรวจยืนยันทางห้องปฏิบัติการ • การตรวจวิเคราะห์สายพันธุ์ไวรัสโรคหัด • การสอบสวนโรค
การเฝ้าระวังโรคหัดระบบปัจจุบัน vs ระบบที่มีประสิทธิภาพ
การเฝ้าระวังโรคหัดระบบปัจจุบัน vs ระบบที่มีประสิทธิภาพ
การเฝ้าระวังโรคหัดระบบปัจจุบัน vs ระบบที่มีประสิทธิภาพ
ระบบเฝ้าระวังโรคหัดของประเทศไทยในปัจจุบันระบบเฝ้าระวังโรคหัดของประเทศไทยในปัจจุบัน การรายงานและสอบสวนผู้ป่วยให้ได้ตามโครงการกำจัดโรคหัด ต้องไม่รอรายงานจาก ICD10!!!
การรายงานและสอบสวนผู้ป่วยให้ได้ตามโครงการกำจัดโรคหัด ต้องไม่รอรายงานจาก ICD10!!!
นิยามผู้ป่วย 1. เกณฑ์ทางคลินิก (Clinical Criteria) มีไข้> 38 ํC และมีผื่นนูนแดงขึ้นขณะยังมีไข้พร้อมทั้งมีอาการไอ(Cough) ร่วมกับอาการอื่นๆ อีกอย่างน้อยหนึ่งอาการ ดังต่อไปนี้ • มีน้ำมูก (Coryza) • เยื่อบุตาแดง (Conjunctivitis) • ตรวจพบ Koplik's spot 1-2 วันก่อนและหลังผื่นขึ้น
นิยามผู้ป่วย 2. เกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory Criteria) 2.1. Serology test - Measles IgM ให้ผลบวก 2.2. Viral isolation- เพาะเชื้อจากสารคัดหลั่งทางเดินหายใจ โดย Throat swab culture หรือ Nasal swab culture
ประเภทผู้ป่วย 1. ผู้ป่วยสงสัย(Suspected case)หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก หรือ แพทย์วินิจฉัยโรคหัด 3. ผู้ป่วยเข้าข่าย(Probable case)หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก ร่วมกับมีข้อมูลทางระบาดวิทยาเชื่อมโยงกับผู้ป่วยยืนยัน 2. ผู้ป่วยยืนยัน(Confirmed case)หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก และ มีผลบวกทางห้องปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่ง
นิยามผู้สัมผัสใกล้ชิดนิยามผู้สัมผัสใกล้ชิด • ผู้สัมผัสร่วมบ้าน • ผู้ร่วมงาน หรือ ร่วมห้องเรียน ที่ต้องอยู่ในห้องเดียวกันเป็นประจำ • ผู้ที่มีประวัติคลุกคลีใกล้ชิดกับผู้ป่วย ในระยะ 7 วันก่อนวันเริ่มป่วยของผู้ป่วย เช่น แฟน เพื่อนสนิท
การรายงานผู้ป่วยเข้าสู่ระบบเฝ้าระวังเพื่อการกำจัดโรคหัดการรายงานผู้ป่วยเข้าสู่ระบบเฝ้าระวังเพื่อการกำจัดโรคหัด ให้รายงานตั้งแต่ผู้ป่วยสงสัย พร้อมทั้งเก็บสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ในผู้ป่วยสงสัยทุกรายที่มาโรงพยาบาล
เมื่อแพทย์พบผู้ป่วยหัดที่สถานบริการเมื่อแพทย์พบผู้ป่วยหัดที่สถานบริการ ให้เจาะเลือดส่งตรวจ measles IgM ทุกราย - ระยะเวลาเจาะเลือดที่ดีที่สุด คือหลังผื่นขึ้น 4 – 30 วัน - หากผู้ป่วยมาเร็วมาก เช่น 1 วันหลังผื่นขึ้น ยังไม่ต้องเจาะเลือด อาจนัดมาเจาะเลือดภายหลัง หรือแจ้งเจ้าหน้าที่ระบาดวิทยาให้ติดตามในพื้นที่ • ส่งเลือดที่ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ การตรวจไม่เสียค่าใช้จ่าย (รพ.มีค่าใช้จ่ายเฉพาะการเจาะเลือด และจัดส่ง) • แจ้งเจ้าหน้าที่ระบาดวิทยาเพื่อดำเนินการสอบสวน และรายงานต่อไป
เมื่อเจ้าหน้าที่ระบาดได้รับรายงานผู้ป่วยเมื่อเจ้าหน้าที่ระบาดได้รับรายงานผู้ป่วย เพื่อทราบรายละเอียดของการเจ็บป่วย ยืนยันการวินิจฉัยโรค และ ตรวจสอบการระบาดที่อาจจะมีอยู่ในชุมชน • สอบสวนเฉพาะราย(case investigation) สอบสวนผู้ป่วยสงสัยทุกรายที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลทั้งประเภทผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน พร้อมทั้งเก็บสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการในผู้ป่วยสงสัยทุกราย ได้แก่ Measles IgM
เมื่อสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายแล้ว ให้รายงานเข้าฐานข้อมูลสำนักระบาดวิทยา • เข้า website สำนักระบาดวิทยา โครงการกำจัดโรคหัด ฐานข้อมูลกำจัดโรคหัด • กรอกข้อมูลการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย หรือการระบาด รวมทั้งข้อมูลวันที่เจาะเลือด • เมื่อมีผลการเจาะเลือดแล้ว กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ จะรายงานให้ทราบทาง website นี้
การตรวจยืนยันการติดเชื้อไวรัสหัด ตรวจหา IgM ด้วยวิธี ELISA(ผู้ป่วยทุกราย) เจาะเลือดครั้งเดียว ช่วง 4-30 วัน หลังผื่นออก เจาะ 3-5 มล. ดูด serum ส่งกรม/ศูนย์วิทย์ฯภายใต้ระบบลูกโซ่ความเย็น (ไม่ควรเก็บ serum ไว้นานเกิน 3 วัน) รายงานผลได้ภายใน 48 ชั่วโมง
ระยะเวลาที่เหมาะสมในการเก็บตัวอย่างระยะเวลาที่เหมาะสมในการเก็บตัวอย่าง ที่มา : ฝ่ายไวรัสระบบประสาทและระบบไหลเวียนโลหิต NIHกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
เกณฑ์ในการออกสอบสวนโรคในพื้นที่เกณฑ์ในการออกสอบสวนโรคในพื้นที่ มีผู้ป่วยสงสัยโรคหัดเป็นกลุ่มก้อน เมื่อสอบสวนผู้ป่วย Index case แล้วพบว่าผู้สัมผัสใกล้ชิดมีอาการป่วยสงสัยโรคหัดร่วมด้วย ผู้ป่วย Index case มีผลการตรวจMeasles IgM ให้ผลบวก ผู้ป่วย Index case มาจากพื้นที่ที่ความครอบคลุมของวัคซีนต่ำได้แก่ - Measles หรือ MMR เข็มที่ 1 ต่ำกว่าร้อยละ 95 ในเด็กอายุ 1 - 2 ปี (นับจากวันเริ่มป่วยของผู้ป่วย index case) ในระดับตำบล - MMR เข็มที่ 2 ต่ำกว่าร้อยละ 95 ในเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียน
เพื่อยืนยันเชื้อก่อโรคและสายพันธุ์ หาที่มาของการระบาดและควบคุมโรค • การสอบสวนเหตุการณ์การระบาด(outbreak investigation) กรณีที่เกิดโรคเป็นกลุ่มก้อน ให้ทำการสอบสวนการระบาดทันทีโดย - ใช้แบบสอบสวนโรคเฉพาะราย (ME1 form) หรือทะเบียนผู้ป่วยในการสอบสวนเหตุการณ์การระบาดของโรคหัด(ME2 form) - เก็บสิ่งส่งตรวจในผู้ป่วยสงสัย ได้แก่ Measles IgM ประมาณ 10 – 20 ตัวอย่าง ของผู้ป่วยสงสัยในเหตุการณ์ - สุ่มตัวอย่าง Throat / Nasal swab จำนวนไม่เกิน 5 ตัวอย่างเพื่อส่งตรวจ Genotype ของไวรัสโรคหัด ด้วยวิธี PCR
การตรวจวิเคราะห์หาสายพันธุ์ของไวรัสหัดการตรวจวิเคราะห์หาสายพันธุ์ของไวรัสหัด • (เฉพาะเมื่อสอบสวนการระบาดที่เป็นกลุ่มก้อน) • Throat swab : 1-5 วัน หลังผื่นออก • Nasal swab:1-5 วัน หลังผื่นออก • รายงานผลได้ภายใน 1 เดือน
วัคซีน : ความหมายในการป้องกัน และควบคุมการระบาดของโรค เป็นเครื่องมือที่ทรงประสิทธิภาพ ในการป้องกันโรค แต่ ไม่ได้เป็นเครื่องมือที่ทรงประสิทธิภาพในการควบคุมโรค
Pop. 10,000 Coverage 90% 9000 (90% มีseroconversion rate) 1000(50%เป็นโรคหัด) 8100 900(50% เป็นโรคหัด) 450 500
= อัตราป่วยของผู้ไม่ได้รับวัคซีน - อัตราป่วยของผู้ที่ได้รับวัคซีน อัตราป่วยของผู้ไม่ได้รับวัคซีน = 500 - 450 = 0.5 - 0.05 1000 9000 0.5 500 1000 = 0.45 = 90% 0.5 Vaccine efficacy X 100 X 100 X 100 X 100
แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดโรคหัด แนวทางการตรวจสอบและให้วัคซีน เพื่อการกำจัดโรคหัด การเบิกวัคซีนและการกระจายวัคซีน MMR
แนวทางการตรวจสอบและให้วัคซีนเพื่อการกำจัดโรคหัดแนวทางการตรวจสอบและให้วัคซีนเพื่อการกำจัดโรคหัด ระยะก่อนเกิดโรค ระยะที่มีการระบาด
ระยะก่อนเกิดโรค • ตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน ของเด็กในพื้นที่ และการให้วัคซีนเพิ่มเติม (เก็บตก) • 2. ให้วัคซีนเสริมในประชากรกลุ่มเสี่ยงสูง ก่อนเกิดโรค
ระยะก่อนเกิดโรค 1. การตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน ของเด็กกลุ่ม เป้าหมายในพื้นที่รับผิดชอบและการให้วัคซีนเพิ่มเติม 1.1 การได้รับวัคซีน M/MMR ของเด็กอายุครบ 1 ปี 1.2 การได้รับวัคซีน M/MMR ของเด็ก < 7 ปี 1.3 การได้รับวัคซีน M/MMR ของเด็ก ป.1 – ม.6 1.4 สถานบริการไม่มีหลักฐานการได้รับวัคซีนของกลุ่มเป้าหมาย ตาม 1.1 – 1.3
ระยะก่อนเกิดโรค ตรวจสอบระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีน MMR ในกลุ่มเป้าหมายรายไตรมาส (>95%) ครั้งที่ 1 : เด็กอายุ 9-12 เดือน ครั้งที่ 2 : นักเรียนชั้น ป. 1
การให้วัคซีน MMRในเด็กก่อนวัยเรียนจำแนกตามประวัติการได้รับวัคซีน
การให้วัคซีน MMRในเด็กวัยเรียนจำแนกตามประวัติการได้รับวัคซีน
ระยะก่อนเกิดโรค • ตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน ของเด็กในพื้นที่ และการให้วัคซีนเพิ่มเติม (เก็บตก) • 2. ให้วัคซีนเสริมในประชากรกลุ่มเสี่ยงสูง ก่อนเกิดโรค
ระยะก่อนเกิดโรค 2. การให้วัคซีนเสริมในประชากรกลุ่มเสี่ยงสูง @ เด็กที่อยู่ในพื้นที่ทุรกันดาร @ เด็กด้อยโอกาส @ เด็กในกลุ่มแรงงานต่างชาติ
กรณีไม่มีหลักฐานการได้รับวัคซีน กรณีไม่มีหลักฐานการได้รับวัคซีน ของเด็กก่อนวัยเรียน/วัยเรียน (1.4) • กรณีมีกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ที่รับผิดชอบ (2) สสอ./สสจ. วางแผนรณรงค์ให้MMRแก่เด็กทุกคนโดยไม่คำนึงถึงประวัติการเจ็บป่วย ประวัติการได้รับวัคซีนในอดีต
พบผู้ป่วยสงสัยโรคหัด 2 ราย ภายใน 14 วัน ในหมู่บ้าน/ชุมชน/สถานที่มีบุคคลรวมกันเป็นจำนวนมาก แนวทางการให้วัคซีนเมื่อพบผู้ป่วยสงสัยโรคหัด พบผู้ป่วยสงสัยโรคหัด 1 ราย ดำเนินการเช่นเดียวกับ ในระยะก่อนเกิดโรค ดำเนินการควบคุมโรค
พบผู้ป่วยสงสัยโรคหัด 2 ราย ภายในระยะเวลา 14 วัน ในหมู่บ้าน/ชุมชน/สถานที่มีบุคคล รวมกันเป็นจำนวนมาก เกณฑ์การระบาด
แนวทางการให้วัคซีนป้องกันและควบคุมโรคหัดแนวทางการให้วัคซีนป้องกันและควบคุมโรคหัด เด็กก่อนวัยเรียน (อายุ < 7 ปี) เด็กวัยเรียน ผู้ใหญ่ พื้นที่ใกล้เคียงที่ยังไม่มีการระบาด เกิดการระบาดโรค 1 2 ระยะฟักตัว (8-12 วัน)
การระบาดในเด็กก่อนวัยเรียน (อายุต่ำกว่า 7 ปี) ประเมินสภาพการดำเนินงานป้องกันโรคในพื้นที่
แนวทางการให้วัคซีนป้องกันและควบคุมโรคหัดแนวทางการให้วัคซีนป้องกันและควบคุมโรคหัด เด็กก่อนวัยเรียน (อายุ < 7 ปี) เด็กวัยเรียน ผู้ใหญ่ พื้นที่ใกล้เคียงที่ยังไม่มีการระบาด เกิดการระบาดโรค 1 2 ระยะฟักตัว (8-12 วัน)
ดูหลักฐานยืนยัน ได้รับไม่ได้รับ/ไม่สามารถประเมิน/ไม่แน่ใจ ไม่ต้องให้ MMRให้ MMR ควรให้แล้วเสร็จภายใน 72 ชม. หลังรับรายงานผู้ป่วยรายแรก **เด็กที่มีหลักฐานว่าได้ MMR เมื่ออายุ 4-6 ปี ไม่ต้องให้ MMR ในการควบคุมโรค การระบาดในเด็กวัยเรียน (ป.1-ม.6) ตรวจสอบประวัติการได้รับ MMR เมื่อเข้าเรียนชั้น ป.1**ของเด็กแต่ละคนทุกชั้นเรียน
แนวทางการให้วัคซีนป้องกันและควบคุมโรคหัดแนวทางการให้วัคซีนป้องกันและควบคุมโรคหัด เด็กก่อนวัยเรียน (อายุ < 7 ปี) เด็กวัยเรียน ผู้ใหญ่ พื้นที่ใกล้เคียงที่ยังไม่มีการระบาด เกิดการระบาดโรค 1 2 ระยะฟักตัว (8-12 วัน)
ประเมินอัตราป่วยรายกลุ่มอายุตามประเมินอัตราป่วยรายกลุ่มอายุตาม “แบบประเมินอัตราป่วยเพื่อขอรับวัคซีน MMR ในการควบคุมโรค” การระบาดในผู้ใหญ่ 1. ผู้ใหญ่ที่เกิดก่อนปี 2533 กลุ่มอายุ & ขอบเขตการให้วัคซีน ขึ้นอยู่กับผลการสอบสวน และแบบประเมินฯ
2. ผู้ใหญ่ที่เกิดตั้งแต่ปี 2533 ตรวจสอบการได้รับ MMR เมื่อเข้า ป.1 การระบาดในผู้ใหญ่ (ต่อ)