1 / 42

กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. การใช้แบบมาตรฐาน โครงการพัฒนา แหล่งน้ำ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย วันที่ 21 มกราคม 2553. บริษัท โลตัส คอนซัลแตนท์ จำกัด. ข้อมูลทั่วไปของโครงการ. 1. การสำรวจภูมิประเทศ. 2. ข้อมูลเบื้องต้นที่ใช้ในการออกแบบ.

brilliant
Download Presentation

กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การใช้แบบมาตรฐาน โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย วันที่ 21 มกราคม 2553 บริษัท โลตัส คอนซัลแตนท์ จำกัด

  2. ข้อมูลทั่วไปของโครงการข้อมูลทั่วไปของโครงการ 1 การสำรวจภูมิประเทศ 2 ข้อมูลเบื้องต้นที่ใช้ในการออกแบบ ประเภทของโครงการ วัตถุประสงค์ของโครงการ ข้อมูลความต้องการใช้น้ำ พื้นที่รับประโยชน์ ข้อมูลระดับน้ำสูงสุด ฯลฯ 2.1 แผนที่ภูมิประเทศ มาตราส่วน 1 : 500 - 1 : 2,000 เส้นชั้นความสูง 0.50 - 1.00 ม. 2.2 รูปตัดตามยาวแสดงผิวดิน และผิวน้ำ มาตราส่วน 1 : 500 - 1 : 2000 2.3 รูปตัดขวางตั้งฉากกับแนวลำน้ำทุกระยะ 20 - 50 ม.

  3. การสำรวจปฐพีและธรณีวิทยาการสำรวจปฐพีและธรณีวิทยา 3 ข้อมูลด้านอุทกวิทยา 4 ข้อมูลเบื้องต้นที่ใช้ในการออกแบบ (ต่อ) 3.1 แหล่งวัสดุก่อสร้าง 3.2 ชนิดของดินฐานรากและระดับของชั้นดินฐานราก 3.3 การทดสอบคุณสมบัติทางวิศวกรรมของแหล่งวัสดุ และชนิดของดินฐานราก 4.1 ปริมาณน้ำฝน 4.2 พื้นที่รับน้ำฝน 4.3 ปริมาณน้ำท่าเฉลี่ยรายปี 4.4 ปริมาณน้ำนองสูงสุด

  4. วิธีเรชั่นแนล (Rational Method) 1 วิธีแมนนิ่ง (Manning’s Method) 2 วิธีหาปริมาณน้ำนองสูงสุด ที่เหมาะสมมีหลายวิธี เช่น พื้นที่รับน้ำฝนเหนือจุดที่ตั้งโครงการไม่เกิน 10 ตร.กม. (ถ้าพื้นที่ใหญ่จะได้ปริมาณน้ำมากเกินจริง) ใช้เมื่อมีการสำรวจรูปตัดลำน้ำและบันทึกค่าระดับน้ำสูงสุดที่เคยเกิดขึ้นตามธรรมชาติการคำนวณวิธีนี้ตั้งสมมุติฐานว่า น้ำไหลด้วยความเร็วสม่ำเสมอไม่เปลี่ยนแปลงไปตามระยะทาง (Uniform Flow)

  5. วิธีหาปริมาณน้ำนองสูงสุด (ต่อ) วิธีสโลป –แอเรีย (Slope – Area Method) 3 เหมาะสมสำหรับคำนวณหาปริมาณน้ำนองสูงสุดในลำน้ำธรรมชาติ จึงควรมีการสำรวจรูปตัดลำน้ำหลาย ๆ แห่ง (อย่างน้อย 3 แห่ง) วิธียูนิทไฮโดรกราฟ (Unit Hydrograph Method) 4 คำนวณปริมาณน้ำนองสูงสุด และกราฟน้ำนองสูงสุดโดยอาศัยสถิติข้อมูลน้ำฝน และข้อมูลทางกายภาพของพื้นที่รับน้ำฝน วิธีนี้จะให้ค่าน้ำนองสูดสุดที่ปลอดภัย

  6. ขั้นตอนการเขียนแบบก่อสร้างขั้นตอนการเขียนแบบก่อสร้าง • แบบสารบัญและแสดงที่ตั้งโครงการ ดูหมายเลขแบบ DDPM-GN-01 • - แผนที่ประเทศไทย • - แผนที่แสดงที่ตั้งโครงการมาตราส่วน 1: 50,000 • 2. สารบัญแบบ • - ลำดับแผ่น • - หมวดแบบ • - รายการหรือชื่อแบบ • - แบบแผ่นที่ • 3. แบบสัญลักษณ์ ข้อกำหนด ลักษณะโครงการ • - โครงการฝายน้ำล้นดูแบบ DDPM-GN-02 • - โครงการขุดลอกหนองน้ำ/สระน้ำ หรืออนุรักษ์และฟื้นฟูแหล่งน้ำ แบบ DDPM-GN-03 • 4. แบบแผนที่เดินทางเข้าโครงการ • 5. แบบแหล่งวัสดุและผลทดสอบวัสดุ

  7. ขั้นตอนการเขียนแบบก่อสร้าง(ต่อ)ขั้นตอนการเขียนแบบก่อสร้าง(ต่อ) 6. แบบผังทั่วไป - เส้นชั้นความสูงทุกระยะ 0.50 – 1. 00 ม.ตามความเหมาะสม และมาตราส่วนแปลนของ เส้นชั้นความสูงตามความเหมาะสมให้สามารถลงในกระดาษขนาด A1 ได้ โดยมาตราส่วน ที่แนะนำคือ 1 : 500 ถึง 1 : 2,000 - ข้อมูลในการสำรวจ เช่น หมุด BM, หมุดวงรอบ และแนววงรอบ พร้อมข้อมูลพิกัด - ตำแหน่งของอาคารต่าง ๆจุดเริ่มต้น – สิ้นสุดของอาคาร และกำหนดช่วง กม. ของแต่ละอาคาร 7. แบบแปลนทั่วไป - ข้อมูลเหมือนแบบผังทั่วไปทุกอย่างแต่เป็นการขยายเฉพาะอาคารต่างๆ - เส้นชั้นความสูงและอาคารต่าง ๆ จะขยายให้เห็นรายละเอียดให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น - บอกรายละเอียดของอาคารต่าง ๆ ให้สมบูรณ์ 8. แบบแปลนและรูปตัดแสดงตำแหน่งหลุมเจาะ - เส้นชั้นความสูงทุกระยะ 0.50 – 1. 00 ม. - ลงรายละเอียดพอสังเขป , วางตำแหน่งหลุมเจาะต่าง ๆ , รูปตัดอาคารต่าง ๆ ที่แนวหลุมเจาะ พาดผ่านทั้งแนวตามยาวและแนวตามขวาง

  8. ขั้นตอนการเขียนแบบก่อสร้าง (ต่อ) 9. แบบแสดงผลการทดสอบ ผลการเจาะหลุมธรณี - ประกอบด้วยตารางผลการทดสอบธรณี 10. แบบแปลนอาคารต่าง ๆ 11. แบบรูปตัดต่างๆ 12. แบบขยายรายละเอียดต่างๆ ที่จำเป็นในการก่อสร้าง 13. แบบแสดงปริมาณงานดิน 14. แบบป้ายชื่อโครงการ ดูหมายเลขแบบ DDPM-PL-01, DDPM -PL-02 15. แบบป้ายแนะนำโครงการ ดูหมายเลขแบบ DDPM -PL-04 16. ขั้นตอนการเขียนแบบก่อสร้าง เป็นเพียงแนวทางในการเขียนแบบเท่านั้น รายละเอียดอื่นๆที่จำเป็นขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้ออกแบบ

  9. แบบมาตรฐานอาคารฝายน้ำล้นและอาคารประกอบแบบมาตรฐานอาคารฝายน้ำล้นและอาคารประกอบ • ประเภทของแบบมาตรฐานฝายน้ำล้น ประกอบด้วย 3 แบบ คือ • 1) ฝายสันมน (Ogee) หมายเลขแบบ DDPM-DO-01 • 1.1) สร้างด้วยคอนกรีตและหินก่อ มีสันฝายมนและโค้งตามลักษณะการไหลของน้ำ • น้ำที่ไหลข้ามสันฝายจะไหลเรียบและลดแรงกระแทกพื้นฝายท้ายน้ำ • 1.2) ตัวฝายขนาดกว้างใหญ่ แข็งแรงต้านแรงดันน้ำหน้าฝายและแรงดันด้านข้างของดิน • ที่สะสมอยู่หน้าฝาย และต้านแรงกระทบของซุงที่ลอยมากับน้ำได้ดี • 1.3) เหมาะสมก่อสร้างทั้งในลำน้ำบนที่ราบและร่องน้ำในหุบเขา ซึ่งฐานรากเป็นหินแข็ง • ดินดาน ดินเหนียวแข็ง ทราย และกรวดที่อัดแน่น • 1.4) ความกว้างของสันฝายไม่จำกัด โดยความสูงของสันฝายอยู่ระหว่าง 1.50- 4.00 เมตร

  10. ตัวอย่างแบบมาตรฐานฝายสันมน (Ogee)

  11. แบบมาตรฐานอาคารฝายน้ำล้นและอาคารประกอบ (ต่อ) 1.5) ดินฐานรากของฝายน้ำล้นแบ่งเป็น 3 กลุ่มคือ กลุ่มดิน ด1สำหรับดินฐานรากซึ่งมีค่า Creep ratio ระหว่าง 5.0-8.5 ได้แก่ ดินตะกอน ทรายละเอียด ทรายหยาบ และทรายละเอียดปานกลาง กลุ่มดินประเภทนี้ได้แก่ SM, SW, SP, MP, ML กลุ่มดิน ด2 สำหรับกลุ่มดินฐานรากซึ่งมีค่า Creep ratio ระหว่าง 3.0-4.5 ได้แก่ กรวดละเอียด กรวดหยาบ และกรวดละเอียดปานกลาง กลุ่มดินประเภทนี้ได้แก่ GM, GW, GP กลุ่มดิน ด3 สำหรับกลุ่มดินฐานรากซึ่งมีค่า Creep ratio ระหว่าง 1.6-3.0 ได้แก่ ดินเหนียวที่มีความหนาแน่นน้อยดินเหนียวที่มีความหนาแน่นปานกลาง ดินเหนียวที่มีความหนาแน่นดีถึงดีมาก หรือดินดานแข็งมาก กลุ่มดินประเภทนี้ได้แก่ CL, CH, GC, SC

  12. แบบมาตรฐานอาคารฝายน้ำล้นและอาคารประกอบ(ต่อ)แบบมาตรฐานอาคารฝายน้ำล้นและอาคารประกอบ(ต่อ) 1.6) หัวน้ำ (Design head) เท่ากับ 0.95 เมตร สำหรับค่าปริมาณน้ำนองสูงสุด 2.0 ลบ.ม./วิ/เมตร และหัวน้ำ 1.25 เมตร สำหรับค่าปริมาณน้ำนองสูงสุด 3.0 ลบ.ม./วินาที/เมตร 1.7) ค่า Froude Number (F) มากกว่า 4.5 1.8) อ่างน้ำนิ่งแบบที่ III (Stilling basin type III) 2) ฝายน้ำล้นแบบสันกว้างบนดิน (Broad Crest) หมายเลขแบบ DDPM -DB- 01 2.1) สันฝายทำด้วยคอนกรีตวางบนดินถมบดอัดแน่น และปูลาดลงด้านเหนือน้ำและท้ายน้ำจนจดกับกำแพงกันน้ำซึม 2.2) เหมาะสมจะก่อสร้างในลำน้ำบริเวณสองฝั่งเป็นที่ราบหรือเนิน 2.3) สันฝายไม่ควรสูงมาก เพราะฝายอาจจะชำรุดเสียหายได้ เนื่องจากการทรุดตัวไม่เท่ากันของดินถม 2.4) ความกว้างของสันฝายไม่จำ กัด ส่วนความสูงของสันฝายอยู่ระหว่าง 1.50-4.00 เมตร 2.5) ปริมาณน้ำนองสูงสุด (q) 2 ลบ.ม./วินาที/เมตร

  13. ตัวอย่างแบบมาตรฐานฝายน้ำล้นแบบสันกว้างบนดินตัวอย่างแบบมาตรฐานฝายน้ำล้นแบบสันกว้างบนดิน

  14. แบบมาตรฐานอาคารฝายน้ำล้นและอาคารประกอบ(ต่อ)แบบมาตรฐานอาคารฝายน้ำล้นและอาคารประกอบ(ต่อ) 2.6) หัวน้ำ (Design head) เท่ากับ 1.10 เมตร 2.7) ใช้ได้กับดินฐานรากทุกประเภท ทั้งกลุ่มดิน ด1 ด2 และ ด3 2.8) ค่า Froude Number (F) มากกว่า 4.5 2.9) อ่างเก็บน้ำนิ่งแบบที่ III 3) ฝายน้ำล้นแบบไหลตกตรง (Straight Drop) หมายเลขแบบ DDPM -DS-01 3.1) เป็นกำแพงคอนกรีตปิดกั้นน้ำ 3.2) ควรสร้างปิดลำน้ำบนพื้นที่ราบ ความสูงสันฝายไม่เกิน 3 เมตร 3.3) แข็งแรงน้อยกว่าฝายสันมน เสียหายง่ายเมื่อกระทบท่อนซุง 3.4) ความสูงของสันฝายอยู่ระหว่าง 1.50-2.50 เมตร 3.5) ปริมาณน้ำนองสูงสุด (q) 2 ลบ.ม./วินาที/เมตร 3.6) หัวน้ำ (Design head) เท่ากับ 1.10 เมตร 3.7) ใช้ได้กับดินฐานรากทุกประเภท ทั้งกลุ่มดิน ด1 ด2 และ ด3 3.8) ค่า Froude Number (F) อยู่ระหว่าง 2.5-4.5 3.9) อ่างเก็บน้ำนิ่งแบบที่ IV

  15. ตัวอย่างแบบมาตรฐานฝายน้ำล้นแบบไหลตกตรงตัวอย่างแบบมาตรฐานฝายน้ำล้นแบบไหลตกตรง

  16. แบบมาตรฐานอาคารฝายน้ำล้นและอาคารประกอบ(ต่อ)แบบมาตรฐานอาคารฝายน้ำล้นและอาคารประกอบ(ต่อ) • ประเภทของแบบมาตรฐานกำแพงกันดิน • 1) แบบ Cantilever หมายเลขแบบ DDPM -RW-01 ถึง DDPM -RW-04 • 2) แบบ Counterfort หมายเลขแบบ DDPM -RW-05 และ DDPM -RW-06 • ประเภทของแบบมาตรฐานฝาท่อ • ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.40 เมตร หมายเลขแบบ DDPM -SG-01 • ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.60 เมตร หมายเลขแบบ DDPM -SG-02 • ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.80 เมตร หมายเลขแบบ DDPM -SG-03 • ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.00 เมตร หมายเลขแบบ DDPM -SG-04 • ประเภทแบบมาตรฐานเครื่องกว้าน ประกอบด้วย 5 แบบ • หมายเลขแบบ DDPM -HW-01 สำหรับแรงยก 170-250 กิโลกรัม • หมายเลขแบบ DDPM -HW-02 สำหรับแรงยก 400-500 กิโลกรัม • หมายเลขแบบ DDPM -HW-03 สำหรับแรงยก 1,000, 1,250, 1,750 และ 2,250 กิโลกรัม • หมายเลขแบบ DDPM -HW-04 มาตรฐานเครื่องกว้านม้วนลวดขนาด 6 ตัน • หมายเลขแบบ DDPM -HW-05 มาตรฐานเครื่องกว้านม้วนลวดขนาด 12 ตัน

  17. ตัวอย่างแบบมาตรฐานกำแพงกันดินตัวอย่างแบบมาตรฐานกำแพงกันดิน

  18. ตัวอย่างแบบมาตรฐานฝาท่อตัวอย่างแบบมาตรฐานฝาท่อ

  19. ตัวอย่างแบบมาตรฐานเครื่องกว้านตัวอย่างแบบมาตรฐานเครื่องกว้าน

  20. แบบมาตรฐานอาคารฝายน้ำล้นและอาคารประกอบ(ต่อ)แบบมาตรฐานอาคารฝายน้ำล้นและอาคารประกอบ(ต่อ) ประเภทแบบมาตรฐานบานระบาย ประกอบด้วย 10 แบบ - หมายเลขแบบ DDPM -GS-01 ถึง DDPM -GS-05 สำหรับบานประตูบานตรงบานขนาด 1.50 x 2.00 , 2.00 x 2.00 , 2.00 x 3.00 , 2.00 x 4.00 , 3.00 x 6.00 - หมายเลขแบบ DDPM -GR-01 ถึง DDPM -GR-05 สำหรับบานประตูบานโค้ง สำหรับบานประตูบานตรงบานขนาด 1.50 x 2.00 , 2.00 x 2.00 , 2.00 x 3.00 , 2.00 x 4.00 , 3.00 x 6.00

  21. การนำแบบมาตรฐานฝายน้ำล้นและอาคารประกอบไปใช้การนำแบบมาตรฐานฝายน้ำล้นและอาคารประกอบไปใช้ 1.ฝายน้ำล้นแบบสันมน 1) หาปริมาณน้ำนองสูงสุด Q 2) หาความยาวของสันฝาย (ก) = Q/q เมตร 3) การเขียนรหัสแสดงลักษณะของอาคารฝายน้ำล้นลงในแบบ โดยเขียนเรียงลำดับจากซ้ายไปขวา ดังนี้ ลำดับที่รายละเอียดตัวอย่าง 1 ประเภทของฝาย DO. 2 ความสูงของสันฝาย (ส) 3.00 เมตร 3 ปริมาณน้ำนองสูงสุด (Q) 50 ลบ.ม./ วินาที 4 อัตราการไหลผ่านฝาย (q) 2.0 ม3/ วินาที/ม. 5 กลุ่มดินฐานราก ด1 ตามตัวอย่างให้เขียนรหัสดังนี้ DO. 3.00 – 50 – 2.0 – ด1 4) มิติต่างๆ ให้ดูในตารางในแบบโดยดูที่ความสูงสันฝาย (ส)

  22. การนำแบบมาตรฐานฝายน้ำล้นและอาคารประกอบไปใช้(ต่อ)การนำแบบมาตรฐานฝายน้ำล้นและอาคารประกอบไปใช้(ต่อ) แบบมาตรฐานอาคารประกอบที่ใช้ในฝายน้ำล้น 1) กำแพงกันดินความสูง 1.00 - 6.00 เมตร แบบ DDPM -RW-01 ถึง DDPM -RW-08 2) การเสริมเหล็กพื้น หมายเลขแบบ DDPM -DT-01 3) การเสริมเหล็กสันฝายน้ำล้น หมายเลขแบบ DDPM -DT-02 4) รูระบายน้ำ ช่องใส่บานไม้ หมายเลขแบบ DDPM -DT-03 5) ราวเหล็กกันตก หมายเลขแบบ DDPM -DT-04 6) ยางกันน้ำ หมายเลขแบบ DDPM -DT-05 7) งานป้องกันการกัดเซาะ หมายเลขแบบ DDPM -DT-07 8) บันไดเหล็ก หมายเลขแบบ DDPM -DT-08 9) ช่องระบายทราย (สำหรับฝายน้ำล้น) หมายเลขแบบ DDPM -SW-01 10) ฝาท่อขนาด Dia.0.40, 0.60, 0.80 และ 1.00 เมตร หมายเลขแบบ DDPM -SG-01, DDPM -SG-02, DDPM -SG-03และ DDPM -SG-04 11) บานประตูบานตรง ขนาด 2.00 x 2.00 เมตร หมายเลขแบบ DDPM -GS-02

  23. แบบมาตรฐานอาคารบังคับน้ำแบบมาตรฐานอาคารบังคับน้ำ ข้อพิจารณาในการใช้แบบมาตรฐานอาคารบังคับน้ำ 1. ปริมาณน้ำผ่านท่อส่งน้ำ > ค่าชลภาระ x พื้นที่รับประโยชน์ ค่าชลภาระ พืชไร่ =0.00017 ลบ.ม. /วินาที/ไร่, นาข้าว = 0.00025 ลบ.ม. / วินาที / ไร่ 2. ความเร็วของน้ำในท่อ ซึ่งไม่ทำให้ตะกอนตกจมและไม่เป็นอันตรายต่อท่อ = 1-3 เมตร/วินาที 3. ปริมาณน้ำผ่านท่อ คิดการสูญเสียหัวน้ำ เนื่องจาก Major และ Minor loss 4. ปลายท่อส่งน้ำด้านท้ายน้ำ จะกำหนดให้มีอาคารลดพลังงานของน้ำ 5. การไหลของน้ำในท่อคิดทั้งน้ำเต็มท่อและน้ำไม่เต็มท่อ

  24. แบบมาตรฐานอาคารบังคับน้ำ(ต่อ)แบบมาตรฐานอาคารบังคับน้ำ(ต่อ) 1. แบบมาตรฐานอาคารบังคับน้ำแบบท่อ หมายเลขแบบ DDPM-DWS-01, Dia.0.40-1.00 เมตร 1) เป็นอาคารปากท่อส่งน้ำ ก่อสร้างผ่านทำนบดิน มีฝาปิดท่อเป็นประตูควบคุมการบังคับน้ำเข้าคลองส่งน้ำ 2) ระดับธรณีประตูต่ำกว่าสันฝายไม่น้อยกว่า 1.00 เมตร 3) Freeboard = 0.75 เมตร 4) ปริมาณน้ำที่ไหลผ่านท่อและขนาดดูได้จากตารางที่ระบุไว้ในแบบมาตรฐาน 5) จำนวนท่อส่งน้ำ 4 ท่อน 6) ติดตั้งประตูน้ำแบบบานเลื่อนขนาดฝาครอบ Dia. 0.40-1.00 เมตร 7) ติดตั้งเป็นอาคารบังคับน้ำสำหรับคลองส่งน้ำซึ่งมีค่าชลภาระ 0.00017 ,0.00025 ลบ.ม./วินาที/ไร่ 8) ความเร็วของกระแสน้ำที่ไหลผ่านท้ายท่อ 1.00 เมตร/วินาที 9) ควรใช้ระดับธรณีประตูน้ำสูงกว่าระดับธรณีประตูระบายทราย 1.00 เมตร

  25. แบบมาตรฐานอาคารบังคับน้ำ (ต่อ) 2. แบบมาตรอาคารบังคับน้ำแบบบานประตูโค้ง หมายเลขแบบ DDPM -DWR-01 1) ควบคุมปริมาณน้ำที่จะไหลเข้าอาคารบังคับน้ำเหนือฝายด้วยประตูบานโค้งขนาด 2.00 x 2.00 เมตร 2) ระดับธรณีประตูอาคารบังคับน้ำอยู่ต่ำกว่าสันฝาย 0.75 เมตร 3) ระดับน้ำสูงสุดวัดจากระดับธรณีประตูอาคารบังคับน้ำ 2.00 เมตร 4) ระดับธรณีประตูอาคารบังคับน้ำอยู่สูงกว่าระดับธรณีประตูระบายทรายของฝายน้ำล้น 1.25 เมตร 5) Freeboard = 0.75 เมตร 6) สามารถระบายน้ำได้สูงสุด 2.00 ลบ.ม./วินาที 7) ความเร็วของกระแสน้ำผ่านพื้นท้ายน้ำของประตูอาคารบังคับน้ำ 0.8 เมตร/วินาที 8) ติดตั้งเป็นอาคารบังคับน้ำสำหรับคลองส่งน้ำซึ่งมีค่าชลภาระ 0.00017 ,0.00025 ลบ.ม./วินาที/ไร่

  26. ตัวอย่างแบบมาตรฐานอาคารบังคับน้ำแบบท่อ

  27. ตัวอย่างแบบมาตรฐานอาคารบังคับน้ำแบบบานประตูโค้ง

  28. แบบมาตรฐานการขุดลอกคลอง ขุดหนองน้ำ ขุดสระน้ำ ข้อพิจารณาในการใช้แบบมาตรฐาน 1. คลองส่งน้ำที่ขุดบนดินถมบดอัดแน่นหรือบนดินเดิม 1) V/Vo = 0.80-1.10 2) V <1.00 เมตร / วินาที 3) อัตราส่วนความกว้างท้องคลองต่อความลึกน้ำมีค่าประมาณ 2 4) Z = 1 : 1.5 (ตั้ง : ราบ) 5) รัศมีความโค้งระหว่าง 3.5 ถึง 7 เท่าของความกว้างคลอง 2. คลองส่งน้ำดาดผิวด้วยวัสดุแข็ง เช่น คอนกรีต 1) V <1.00 เมตร / วินาที และV > Vo 2) อัตราส่วนความกว้างท้องคลองต่อความลึกน้ำมีค่าประมาณ 1-2 3) Z = 1 : 1.5 (ตั้ง : ราบ) 4) รัศมีความโค้งพอเหมาะอยู่ระหว่าง 3.5 ถึง 7 เท่าของความกว้างคลอง

  29. แบบมาตรฐานการขุดลอกคลอง ขุดหนองน้ำ ขุดสระน้ำ(ต่อ) 3. อาคารเชื่อมต่อ (Transitions) เพื่อเชื่อมต่อระหว่างคลองส่งน้ำกับอาคารหรืออาคารกับอาคารเข้าด้วยกัน 1) Head Losses ขึ้นอยู่กับความแตกต่างระหว่างศักย์ความเร็ว ( Δ hv) ที่จุดปลายทั้งสองของอาคาร 2) ระดับน้ำเหนือท่อ (กรณีที่อากาศเต็มท่อ) ควรอยู่สูงจากระดับผิวบนของท่อบริเวณ ปากทางเข้า >1.5 Δ hv หรืออย่างน้อย 7.50 เซนติเมตร 3) การป้องกันการกัดเซาะลำน้ำทางด้านท้ายอาคารให้เกิดขึ้นน้อยที่สุด - ถ้า V <1 เมตร / วินาที วัสดุธรรมชาติ - ถ้า V <3 เมตร / วินาที สำหรับคอนกรีต - ถ้า V >3 เมตร / วินาที ควรใช้อาคารลดพลังงาน 4) ระยะพ้นน้ำขึ้นอยู่กับความลึกของน้ำแต่ >0.15 เมตร 4. อาคารส่งน้ำ (Conveyance Structure) ทำหน้าที่ลำเลียงน้ำผ่านสิ่งกีดขวาง เช่น อาคารท่อลอดถนน อาคารท่อลอดไซฟอน เป็นต้น 1) ในกรณีที่เป็นท่อ ความเร็วสูงสุดที่ยอมให้ในการไหลของน้ำผ่านท่อไม่เกิน 1.5m/s, slope >0.005, Hydraulic Gradient ใกล้เคียงกับระดับผิวบนของท่อ 2) ในกรณีที่เป็นราง อัตราส่วนความเร็วน้ำในคลองกับความเร็วน้ำในราง = 3 – 4, slope <0.002 หน้าตัดของราง อัตราส่วนกว้างต่อความลึกอยู่ระหว่าง 1 ถึง 3

  30. แบบมาตรฐานการขุดลอกคลอง ขุดหนองน้ำ ขุดสระน้ำ(ต่อ) สรุป - แบบมาตรฐานการขุดลอกคลอง ขุดลอกหนองน้ำ และขุดลอกสระน้ำ แบบ DDPM-CA-01 - แบบมาตรฐานอาคารทางน้ำเข้า แบบ DDPM-PS-01 - แบบมาตรฐานอาคารทางน้ำออก แบบ DDPM-PS-02 - แบบมาตรฐานบันไดลงสระ แบบ DDPM-STR-01 - แบบมาตรฐานอาคารท่อลอดถนน แบบ DDPM-PC-01 - แบบมาตรฐานอาคารท่อลอด แบบ SIPHON แบบ DDPM -SP-01 - แบบมาตรฐานอาคารเชื่อมต่อ แบบ DDPM-PC-01และแบบ DDPM-SP-01

  31. ตัวอย่างแบบมาตรฐานการขุดลอกคลอง ขุดลอกหนองน้ำ และขุดลอกสระน้ำ

  32. ตัวอย่างแบบมาตรฐานอาคารทางน้ำเข้า

  33. แบบมาตรฐานถนน 1. แบบมาตรฐานถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก แบบ DDPM-RD-02, DDPM-RD-03 และDDPM-RD-04 2. แบบมาตรฐานถนน Asphaltic Concrete แบบ DDPM-RD-05 3. แบบมาตรฐานถนน CAPE SEAL แบบDDPM-RD-06 4. แบบมาตรฐานถนน D.B.S.T. แบบDDPM-RD-07 5. แบบมาตรฐานถนนลูกรัง แบบDDPM-RD-08 6. แบบมาตรฐานการก่อสร้างขยายคันทางลงในคูน้ำ มาตรฐานทางที่ถมสูงหรือตัดลึก การวางท่อ คสล. และการป้องก้นการกัดเซาะปากท่อ รางระบายน้ำ แบบ DDPM-RD-09ถึง DDPM-RD-17 7. แบบมาตรฐานท่อลอดเหลี่ยม คสล. กำแพงปากท่อลอดเหลี่ยม และ BOX CULVERT BARRIER แบบ DDPM-RD-18,DDPM-RD-19และ DDPM-RD-20

  34. ตัวอย่างแบบมาตรฐานถนนคอนกรีต

  35. ตัวอย่างแบบมาตรฐานถนนAsphalt Concrete

  36. ตัวอย่างแบบมาตรฐานถนนลูกรัง

  37. แบบมาตรฐานสะพาน 1. แบบมาตรฐานสะพาน หมายเลขแบบ DDPM-CB-01 ถึง DDPM-CB-08 1) คสล.ที่หล่อในที่หรือแบบสำเร็จรูปแล้วนำมาประกอบในสถานที่ก่อสร้าง รับน้ำหนักบรรทุกจร HS20-44 ตามมาตรฐาน AASHTO 2) ความยาวสะพาน 5.00 – 10.00 เมตร 3) ความกว้างผิวจราจร กว้างรวม 8.00 เมตร 4) ความกว้างผิวจราจร หนึ่งช่องทาง 4.00 เมตร 5) ความสูงของตอม่อตับกลาง < 7.00 เมตร ความสูงของตอม่อตับริม < 3.00 เมตร 6) กรณีฐานแผ่ ระดับพื้นฐานรากต้องต่ำกว่าระดับพื้นดินธรรมชาติไม่น้อยกว่า 2.50 เมตร หรือรับน้ำหนักบรรทุกปลอดภัยได้ไม่น้อยกว่า 20 ตัน/ตร.ม. 2. แบบมาตรฐานป้ายสะพานชนิดหินอ่อน แบบมาตรฐาน Bridge Approach Slab, แบบมาตรฐาน Bridge Approach Transition, แบบมาตรฐาน Abutment Protector, แบบมาตรฐาน Bearing Unit และแบบมาตรฐาน Slope Protection ได้แก่ หมายเลขแบบ DDPM-CB-09 ถึง DDPM-CB-15

  38. ตัวอย่างแบบมาตรฐานสะพาน

  39. ตัวอย่างแบบมาตรฐานสะพาน

  40. ตัวอย่างการนำแบบมาตรฐานไปใช้ในโครงการฝายน้ำล้นตัวอย่างการนำแบบมาตรฐานไปใช้ในโครงการฝายน้ำล้น

  41. ตัวอย่างการนำแบบมาตรฐานไปใช้ในโครงการฝายน้ำล้น(ต่อ)ตัวอย่างการนำแบบมาตรฐานไปใช้ในโครงการฝายน้ำล้น(ต่อ)

  42. Thank You ! บริษัท โลตัส คอนซัลแตนท์ จำกัด

More Related