220 likes | 503 Views
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์. สู่. ISO. โดย ปราโมทย์ ศรีโพธิ์ชัย ลัดดา พิชรานันท์. 4 สิงหาคม 54. โรงพยาบาลสวนสราญรมย์. ปี 2543 กลุ่มงานเภสัชกรรม ได้เริ่มต้นนำระบบ ISO 9002:1994 และ ระบบ 5 ส. มาพัฒนาคุณภาพบริการงานเภสัชกรรม ผลลัพธ์ เกิดสิ่งดีๆ ขึ้นมากมาย
E N D
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์ สู่ ISO โดย ปราโมทย์ ศรีโพธิ์ชัย ลัดดา พิชรานันท์ 4 สิงหาคม 54
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์ ปี 2543 กลุ่มงานเภสัชกรรม ได้เริ่มต้นนำระบบ ISO 9002:1994 และ ระบบ 5 ส. มาพัฒนาคุณภาพบริการงานเภสัชกรรม ผลลัพธ์ เกิดสิ่งดีๆ ขึ้นมากมาย ปี 2543 เกือบทุกหน่วยงานได้นำระบบ 5 ส. มาพัฒนาระบบงาน ปี 2554 ผู้อำนวยการโรงพยาบาล มีนโยบาย ให้ทุกหน่วยงานในโรงพยาบาลพัฒนาคุณภาพด้วยระบบ ISO 9002
การดำเนินงานISO 9002 ศึกษาระบบงาน วิเคราะห์งาน จัดการกระบวนงานให้มีความชัดเจน เรียนรู้ระบบ ISO 9002(ระบบการจัดทำเอกสารคุณภาพ) -จัดทำเอกสารคุณภาพ QP QW QF QD(เขียนในสิ่งที่ทำ ทำตามสิ่งที่เขียน) บนพื้นฐานการมีส่วนร่วม
นำระบบคุณภาพสู่การปฏิบัติ เรียนรู้ ปรับปรุง แก้ไข สร้างทีมและดำเนินการตรวจติดตามคุณภาพภายในและเตรียมความพร้อมหน่วยงานสำหรับการตรวจรับรองคุณภาพ รับการตรวจเพื่อรับรองระบบคุณภาพ ISO 9002จากบริษัท URS (รับรองเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2544)
ดำเนินการตรวจติดตามคุณภาพภายในและรับการตรวจติดตามเพื่อรักษาระบบทุก 6 เดือน ต่อยอดการพัฒนาระบบคุณภาพ เป็น ISO 9001: 2000เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2550 อบรมบุคลากรเกี่ยวกับข้อกำหนด ISO 9001:2008พร้อมทั้งจัดทำเอกสารคุณภาพเพิ่มเติม ยกระดับการพัฒนาคุณภาพ เป็น ISO 9001: 2008 เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2552
บริบทของสราญรมย์ ช่วงเริ่มต้นการพัฒนาระบบ ISO โรงพยาบาลสวนสราญรมย์ มีขนาด 1,080 เตียง จำนวนผู้ป่วยนอกเฉลี่ย 180 ราย/วัน ปัจจุบันมีขนาด 600 เตียง จำนวนผู้ป่วยนอกเฉลี่ยประมาณ 375 ราย/วัน เดิมมีพื้นที่รับผิดชอบ 14 จังหวัด ปัจจุบัน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน
บรรยากาศของโรงพยาบาล ก่อนการนำระบบ ISO มาใช้ • ขั้นตอนการทำงานน้อย และไม่ค่อยได้มาตรฐาน • ไม่สามารถทวนสอบกรณีเกิดข้อผิดพลาดได้/ทวนสอบยาก • ไม่ค่อยเป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพ • เอกสารที่ใช้ไม่ค่อยเป็นปัจจุบัน/ไม่เหมือนกัน เพราะไม่มีการ • กำหนดรหัสเอกสารคุณภาพ • ยุ่งยากที่จะประสานงาน/แก้ไขเมื่อเกิดข้อผิดพลาดที่ขึ้น • การทำงานแบบแยกส่วน ไม่มีการเชื่อมโยง/ประสานงานกันน้อย
ISOช่วยอะไรโรงพยาบาลสวนสราญรมย์ISOช่วยอะไรโรงพยาบาลสวนสราญรมย์ จัดระบบการบริหารหน่วยงานได้ชัดเจนยิ่งขึ้น ระบบบริการที่ดีขึ้น บุคลากรคำนึงถึงลัพธ์ที่เกิดกับผู้ป่วย/ผู้รับบริการ/องค์กร มากขึ้น (ตอบสนองปัญหาความต้องการ ความคาดหวังและสร้างความพึงพอใจให้กับผู้รับบริการ)
ลดความแตกต่างในการให้บริการ *ให้บริการที่มีมาตรฐานเดียวกัน* บุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจและมีความรู้สึกที่ดีต่อระบบคุณภาพ นำไปสู่การให้ความร่วมมือ สร้างความสามัคคี กลมเกลียวใกล้ชิด ทำงานแบบ สหวิชาชีพมากขึ้น ได้เรียนรู้และเข้าใจการทำงานระหว่างวิชาชีพ ระหว่าง หน่วยงาน ได้เป็นอย่างดี
การวางแผนให้โรงพยาบาล สามารถดำเนินการ ISOได้ทั้งระบบ นโยบายของผู้บริหารชัดเจน และให้การสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง มีการแต่งตั้งทีม QMR/AQMR มีการแต่งตั้งทีมพัฒนาคุณภาพอย่างรอบด้าน จัดตั้งศูนย์พัฒนาคุณภาพและมอบหมายผู้รับผิดชอบ ดำเนินการ
การสื่อสารและเชื่อมโยงระบบคุณภาพระหว่างทีมนำ ทีมพัฒนาคุณภาพ หน่วยงาน และบุคลากร การเสริมสร้างแรงจูงใจบุคลากรอย่างสม่ำเสมอ สร้างการมีส่วนร่วมในการพัฒนายกระดับคุณภาพของหน่วยงานตนเอง
ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน ISO บุคลากรขาดความรู้ ความเข้าใจเรื่องระบบคุณภาพ ข้อกำหนด ISO และมีมุมมองต่องานคุณภาพว่าเป็นภาระ ต่องานประจำของตนเอง บุคลากรมีความรู้สึกเป็นภาระเรื่องการเขียนและการควบคุมเอกสารคุณภาพของหน่วยงาน การปรับปรุง แก้ไข QP QW QF ยังละเลย ไม่ได้ทำตามระบบ ศูนย์พัฒนาคุณภาพต้องคอยติดตามอย่างสม่ำเสมอ
โรงพยาบาลมีภาระค่าใช้จ่ายในการจัดทำเอกสารคุณภาพ เพราะยังใช้ระบบ PAPER 100% ระบบการสื่อสารหลังการนำจ่ายเอกสารคุณภาพที่ไม่สามารถชี้แจงได้ครบถ้วนสมบูรณ์ ระหว่างที่โรงพยาบาลทำระบบคุณภาพทั้ง ISO,HAมีบุคลากรบางส่วนมองว่า ..เกินความจำเป็น.. ต้องการให้เลือกทำอย่างใดอย่างหนึ่ง
แทคติคที่สำคัญ การประชุมทีมนำทุกครั้ง ต้องมีวาระการประชุมเกี่ยวกับระบบคุณภาพ ต้องทำให้ผู้บริหารทุกระดับคิดบวกต่อ ระบบการพัฒนาคุณภาพทุกระบบ (ให้ความรู้ ลดกระบวนงาน ลดความผิดพลาด) จัด Working groupของทีมพัฒนาคุณภาพเข้าสนับสนุนช่วยเหลือหน่วยงานที่ไม่สามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมาย จนสามารถบรรลุความสำเร็จได้พร้อมๆ กัน Quality Round โดยทีมนำและทีมพัฒนาคุณภาพ อย่างสม่ำเสมอ
สิ่งที่ต้องทำในระบบ ISO นโยบายผู้บริหารต้องชัดเจนและติดตามผลอย่างต่อเนื่อง ต้องสร้างเสริมแรงจูงใจให้กับบุคลากรทุกระดับ โดยใช้เครื่องมือต่างๆ อย่างรอบด้าน การชื่นชม การให้รางวัลบุคลากรและหน่วยงาน การจัดประชุม อบรม สัมมนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และมหกรรมคุณภาพโรงพยาบาลอย่างสม่ำเสมอ
สิ่งที่ไม่ควรทำในระบบ ISO การทำงานคุณภาพแบบแยกส่วน การทำงานคุณภาพแบบมอบหมายให้ใคร คนใดคนหนึ่งเป็นพระเอกหรือนางเอก การพูดเชิงลบเรื่องระบบคุณภาพ การพูดเชิงทำลายขวัญและกำลังใจ การให้ความสำคัญกับหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งเท่านั้น
ผลลัพธ์ที่ได้จากการทำ ISO ระบบงานไม่ซ้ำซ้อน โรงพยาบาลมีชื่อเสียง เป็นที่ยอมรับ เนื่องจากเป็นระบบคุณภาพตามมาตรฐานสากล ลดภาระงาน ลดความผิดพลาดในการทำงาน ลดข้อร้องเรียนที่รุนแรง มีความเข้าใจระหว่างผู้ให้บริการ ผู้รับบริการ ระหว่างวิชาชีพ ระหว่างหน่วยงาน
การบูรณาการระหว่างISOและHAการบูรณาการระหว่างISOและHA สร้างความเข้าใจให้กับบุคลากรเรื่องความสอดคล้องของระบบ ISOและ HA สนับสนุนให้ทุกหน่วยงานพัฒนาคุณภาพทั้ง 2 ระบบ ดำเนินการตรวจติดตามคุณภาพภายในทุก 6 เดือน ทั้ง 2 ระบบ การพัฒนาระบบเอกสารคุณภาพที่มีความสอดคล้องกัน
สิ่งที่ไม่ควรทำในระบบ ISO การทำงานคุณภาพแบบแยกส่วน การทำงานคุณภาพแบบมอบหมายให้ใคร คนใดคนหนึ่งเป็นพระเอกหรือนางเอก การพูดเชิงลบเรื่องระบบคุณภาพ การพูดเชิงทำลายขวัญและกำลังใจ การให้ความสำคัญกับหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งเท่านั้น