790 likes | 3.01k Views
วิชาหลักการจัดการ รหัสวิชา 3200-1003 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง. สื่อการเรียนการสอน. เป็นเรื่องทั่วไปผู้เรียนสามารถศึกษาได้ด้วยตนเอง. บทที่ 6 การ จัดการ งาน บุคคล. บรรยายโดย อาจารย์สุเทพ ชุมนิรัตน์. Staffing การจัดคนเข้าทำงาน. การบริหารทรัพยากรมนุษย์.
E N D
วิชาหลักการจัดการ รหัสวิชา3200-1003 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สื่อการเรียนการสอน
เป็นเรื่องทั่วไปผู้เรียนสามารถศึกษาได้ด้วยตนเองเป็นเรื่องทั่วไปผู้เรียนสามารถศึกษาได้ด้วยตนเอง
บทที่ 6 การจัดการงานบุคคล บรรยายโดย อาจารย์สุเทพ ชุมนิรัตน์
Staffing การจัดคนเข้าทำงาน
การบริหารทรัพยากรมนุษย์การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ผู้บริหาร สนใจ มนุษย์ ในสภาพ 1. มนุษย์ในสังคม 2. มนุษย์ที่กำลังปฏิบัติงานในองค์การ 3. มนุษยที่ต้องพ้นจากองค์การ
ความหมายการจัดการงานบุคคล (Staffing) การจัดการงานบุคคลเกี่ยวข้องกับการจัดคนลงไปในงานเป็นการจัดเตรียมและรู้จักใช้ทรัพยากรมนุษย์เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดดังคำกล่าวที่ว่า“Put the right man on the right job”ซึ่งหมายถึงการจัดสรรคนให้เหมาะกับงานหรือการรู้จักใช้คนให้ทำงานในสิ่งที่ตรงตามความสามารถตรงตามความถนัดของแต่ละคนอันจะนำมาซึ่งประโยชน์สูงสุดขององค์การ
หมายถึง ศิลปะในการสรรหาและคัดเลือกบุคคลเข้ามาทำงานในองค์การ มอบหมายงาน พัฒนาบุคคลและให้พ้นจากงาน โดยคำนึ่งถึงประสิทธิภาพของผลผลิตหรือบริการขององค์การเป็นสำคัญ หลักในการบริหารงานบุคคล แบ่งเป็น 2 ระบบคือ การจัดคนเข้าทำงาน/การบริหารงานบุคคล
1. ระบบคุณธรรม Merit System ใช้หลักเกณฑ์1.1 หลักความเสมอภาค เช่น มีสิทธิสอบได้ทุก1.2 หลักความสามารถ เช่น คัดเลือกผู้มีความสามารถสูงไว้ก่อน1.3หลักความมั่นคง เช่น ถ้าไม่ผิดวินัย ก็ไม่ถูกลงโทษให้ออก อยู่จนเกษียณ1.4หลักความเป็นกลางทางการเมือง เช้า ห้ามข้าราชการเป็นกรรมการบริษัท
2. ระบบอุปถัมภ์ Patronage System ยึดถือพวกพ้อง เครือญาติ หรือผู้มีอุปการคุณ
ความสำคัญของการจัดบุคคลความสำคัญของการจัดบุคคล การที่องค์การมีการจัดบุคคลด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้ 1. การจัดบุคคลหรือการจัดคนลงไปในงานเป็นการกำหนดให้บุคคลได้ปฏิบัติงานในองค์การหรือในหน่วยงานให้สำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ 2. การจัดบุคคลเป็นเทคนิคสำคัญอย่างหนึ่งในการจัดการงาน 3. การจัดบุคคลจะอาศัยหลักการและวิธีการโดยเฉพาะเพื่อที่จะให้คนมีความรู้ความสามารถเหมาะสมมาปฏิบัติงาน
1. การวิเคราะห์งาน 2.การวางแผน ทรัพยากรมนุษย์ 3.การสรรหา 4.การคัดเลือก 5.การบรรจุ 6.ค่าตอบแทน 7.การประเมินผล การปฏิบัติงาน 8.การธำรงรักษา ขอบข่ายการบริหารทรัพยากรมนุษย์
การวิเคราะห์งาน ( Job Analysis) องค์การ สภาพแวดล้อม กำหนดงาน ผลผลิต พฤติกรรม ความพึงพอใจ Feedback
กระบวนการในการวิเคราะห์งานกระบวนการในการวิเคราะห์งาน 1.การระบุขอบเขตของงาน 2.พัฒนาแบบสอบถาม 3.รวบรวมสารสนเทศ Job Description Job Specification Job Standards
การวางแผนกำลังคน( Human Resource Planning ) ความต้องการมนุษย์ว่าต้องการบุคคลประเภท ใด ระดับใด จำนวนเท่าใด เมื่อใด ประกอบ 2 ส่วน 1. การคาดการณ์ 2. การกำหนดแผนปฏิบัติ
การวางแผนกำลังคน Manpower Planning • หมายถึง กระบวนการที่กำหนดหรือระบุ ความต้องการกำลังคน รวมทั้งวิธีการที่จะทำให้ได้มาซึ่งกำลังคนตามที่ต้องการ เพื่อการปฏิบัติงานตามวัตถุประสงค์และแผนขององค์การที่วางไว้ การวางแผนกำลังคนจะช่วยให้มีการเตรียมการไว้ล่วงหน้าทั้งระยะสั้นและระยะยาว เพื่อจะได้มีคนไว้ทำงานในทุกตำแหน่งและทุกระดับ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การวางแผนกำลังคนทำให้เราเชื่อมั่นว่า เรามีคนที่เหมาะสมพร้อมไว้เสมอที่จะบรรจุเข้าทำงานในตำแหน่งต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งตำแหน่งที่สำคัญ ๆ
การวางแผนกำลังคนเป็นเรื่องเกี่ยวกับ........การวางแผนกำลังคนเป็นเรื่องเกี่ยวกับ........ • การกำหนดความต้องการใช้บุคคลในองค์การจำนวนเท่าใด • ภาระงาน/กิจกรรม/หน้าที่มีอะไรบ้าง • กำหนดแผนงาน/แผนกงาน/ระดับความรู้ความสามารถของบุคคลที่เหมาะสมกับตำแหน่ง/กำหนดโครงสร้างองค์การ/กำหนดรายละเอียดของงานแต่ละแผนก/จัดบุคคลเข้าไปปฏิบัติงาน
สมัครใจลาออก ตาย กำลังคนของ หน่วยงานต่าง ๆ ในองค์การ • แผนภูมิแสดงความเคลื่อนไหว ของบุคคลากรในองค์การ เลื่อนชั้นขึ้นไป บรรจุใหม่ ย้ายออกไป เลื่อนชั้นเข้ามา ลดขั้นออกไป ย้ายเข้ามา เกษียณ ลดเข้ามา ออกเพราะครบสัญญา พักงาน
การวางแผนกำลังคนที่ดี ต้องทราบสาระดังนี้ • ภาระงาน Workload หน้าที่ความรับผิดชอบชั่วโมงงาน • การออกแบบงาน Job Design เป็นการออกแบบโครงสร้างงานต่างๆ ทั้งองค์การว่ามีกลุ่มงานอะไรบ้าง • การวิเคราะห์งาน Job Analysis วิเคราะห์งานแต่ละตำแหน่ง กำหนดคุณลักษณะที่จำเป็นแต่ละตำแหน่ง เช่น ความสำคัญของงาน ระดับความเป็นอิสระ ตัวบ่งชี้ผลลัพธ์ของงาน ความรู้ความสามารถและทักษะที่จำเป็น เพื่อกำหนดรายละเอียดของตำแหน่ง Job Description และคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง Job Specification
ขั้นตอนการจัดคนลงไปในงาน ขั้นตอนการจัดคนลงไปในงาน 1.กำหนดความต้องการบุคคล 2.กำหนดตำแหน่งเพื่อทำใบพรรณนางานหรือใบแสดงหัวข้องาน 3.ลงมือทำใบพรรณนางาน (Job Description or JD.) ประกอบด้วย 3.1หน้าที่งานและความรับผิดชอบของตำแหน่ง 3.2เงื่อนไขของการจ้างงานค่าจ้างเงินเดือนชั่วโมงทำงาน 3.3ลักษณะงานทางเทคนิคของตำแหน่ง
4.จัดงานตามใบพรรณนาแล้วนำมาจับคู่หรือทำให้เข้า4.จัดงานตามใบพรรณนาแล้วนำมาจับคู่หรือทำให้เข้า กันได้กับคุณสมบัติของผู้ที่จะมาทำงาน 5.ขั้นวิเคราะห์งาน (Job Analysis or JA.) ว่าใน หน่วยงานไหนทำอะไรควรใช้คนกี่คน 6.ระดมสรรหาได้มาแล้วคัดเลือก 7.ฝึกอบรมปฐมนิเทศแล้วทดลองงานหรือบรรจุตำแหน่ง 8.ติดตามผลงานประเมินผลงาน (Job Evaluation or JE.) แล้วเลื่อนขั้นเลื่อนตำแหน่ง 9. พัฒนาและยกระดับคุณภาพทรัพยากรมนุษย์
การวิเคราะห์งาน (Job Analysis) วิธีการที่จะให้ได้มาซึ่งข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้องกับงาน คุณสมบัติของพนักงานที่ต้องการ (Job Specification) มีข้อความเกี่ยวกับคุณสมบัติของคนที่จำเป็น สำหรับการทำงานนั้นซึ่งมักประกอบด้วย การระบุถึง -การศึกษา -ประสบการณ์ -การอบรม -การใช้ดุลยพินิจ -ความคิดริเริ่ม -การใช้แรงกาย -ความชำนาญทางด้านร่างกาย -ความรับผิดชอบ -ความสามารถเชิงติดต่อสื่อความ -ลักษณะอารมณ์ - ความสามารถของโสตประสาทที่ต้องมีเป็นพิเศษ เช่นการใช้สายตา, การรับฟังเป็นต้น คำบรรยายลักษณะงานหรือพรรณนางาน (Job Description) มีข้อความต่างๆที่เกี่ยวกับ -ชื่อตำแหน่งงาน -ที่ตั้งของงาน -ประสบการณ์ -เนื้อหาของงานโดยย่อ (จัดทำในเรื่องเอกสาร, ทะเบียนแฟ้ม) -การอบรม -ภาระหน้าที่ -เครื่องจักรอุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ทำงาน (บรรยายวิธีการใช้งานเครื่องจักรอุปกรณ์เครื่องมือ) - วัตถุอุปกรณ์วัตถุดิบและเอกสารที่ใช้ -การต้องบังคับบัญชาคนอื่น หรืออยู่ภายใต้ การบังคับบัญชาของใคร -สภาพแวดล้อมของงาน -ภัยอันตรายที่เกี่ยวข้องกับงาน
การสรรหาและการคัดเลือก 1. การสรรหาบุคคล (Recruitment)กรรมวิธีการแสวงหาบุคคลที่ เหมาะสม 1.1 ระบบการสรรหาบุคคล (Recruitment System) สามารถทำได้ ดังนี้ 1.1.1 ระบบอุปถัมภ์“ระบบเล่นพรรคเล่นพวก” วิธีนี้ จะทำให้ขวัญของพนักงานเสียไม่มี ความเชื่อมั่นในการทำงานในองค์การจึง ทำให้การจงรักภักดีต่อองค์การมีน้อย
1.1.2 ระบบคุณธรรมโดยพิจารณาความรู้1.1.2 ระบบคุณธรรมโดยพิจารณาความรู้ ความสามารถประสบการณ์และปัจจัยอื่นๆเข้า มาช่วยในการตัดสินใจ รับพนักงานเข้ามาทำงาน - หลักความรู้ความสามารถ - หลักความเสมอภาค - หลักความมั่นคง - หลักความเป็นกลางทางการเมือง
การสรรหา ( Recruitment ) การจูงใจให้ผู้สมัครงานมาสมัครกับองค์การให้มากที่สุด โดยการหาคนดี มีความรู้ มีความสามารถ มาปฏิบัติงานในองค์การ ( Positive Process )
แหล่งในการสรรหา ภายใน 1.หัวหน้าคัดเลือก 2.รับสมัครบุคคลภายใน
Walk in Write in Advertising กรมแรงงาน สถาบันการศึกษา สำนักงานจัดหางาน บริษัทคู่แข่ง การแนะนำ ภายนอก
การคัดเลือก ( Selection ) • การพิจารณาผู้สมัครจำนวนมากให้เหลือจำนวนตามที่องค์การต้องการ ( Negative Process )
1.Merit System - Equality -Competence -Security -Neutrality 2.Patronage System ระบบการคัดเลือก
ขั้นตอนคัดเลือก รวมจดหมายสมัครงาน ให้กรอกแบบฟอร์มใบสมัคร กรองออกบางส่วน (บุคคลที่ไม่ต้องการ) กรองออกบางส่วน (บุคคลที่ไม่ต้องการ) สัมภาษณ์ขั้นต้น กรองออกบางส่วน (บุคคลที่ไม่ต้องการ) ทดสอบงาน (ถ้าจำเป็น) กรองออกบางส่วน (บุคคลที่ไม่ต้องการ) สัมภาษณ์เจาะลึก ตรวจสอบผู้รับรอง กรองออกบางส่วน (บุคคลที่ไม่ต้องการ) ตรวจโรค กรองออกบางส่วน (บุคคลที่ไม่ต้องการ) ฝึกอบรม และปฐมนิเทศ จ้างงาน
วิธีการคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานวิธีการคัดเลือกบุคคลเข้าทำงาน • การสอบประวัติ (Past Record) • การสัมภาษณ์ (Interviewing) • การทดสอบ (Testing) • การตรวจร่างกาย (Physical Examination)
การทดสอบ • ทดสอบเชาว์ปัญญา • ทดสอบการปฏิบัติงาน • ทดสอบด้านธุรกิจ • ทดสอบบุคลิกลักษณะ
การบรรจุและการปฐมนิเทศ ( Placement and Orientation ) • การแนะนำให้พนักงานใหม่ได้ รู้จักกฏ ระเบียบ ผู้บังคับบัญชา การแบ่งสายงานในองค์การ
การฝึกอบรมและพัฒนาบุคคลากรการฝึกอบรมและพัฒนาบุคคลากร • การฝึกอบรมเมื่อเข้าปฏิบัติงานใหม่ ๆ • การฝึกอบรมขณะปฏิบัติงาน
การฝึกอบรมและการพัฒนาการฝึกอบรมและการพัฒนา การฝึกอบรม (Training) ผู้บริหารจะต้องมีการประเมินผลการทำงานของผู้ใต้บังคับบัญชาเพื่อพัฒนาความรู้และเพิ่มทักษะในการแก้ไขปัญหาต่างๆในการฝึกอบรมและการพัฒนาพนักงานสามารถทำได้หลายวิธีได้แก่
1. การให้คำแนะนำ 2. การฝึกอบรม (Training) เป็นกระบวนการในการฝึกพฤติกรรมในการทำงานของพนักงานให้ความรู้และความชำนาญตามหน้าที่ ของงานที่ได้รับมอบหมาย 2.1 การฝึกอบรมโดยให้ลงมือปฏิบัติงาน (On-the- Job Training) 2.2 การสอนงาน (Coaching) เป็นการฝึกอบรมโดยให้ลงมือ ปฏิบัติงานเองเพื่อจะได้มีความเข้าใจยิ่งขึ้น 3. การพัฒนาอาชีพ (Career Development) เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการเลื่อนตำแหน่งพนักงานให้เป็นผู้เชี่ยวชาญ
การบรรยาย การประชุมอภิปราย แสดงบทบาทสมมุติ กรณีตัวอย่าง การสาธิต ระดมสมอง เกมจัดการ อภิปรายเป็นคณะ เทคนิคในการฝึกอบรม
การโยกย้าย เลื่อนตำแหน่ง และลดตำแหน่ง • การโยกย้าย Transfer (Rotate) • เพื่อให้รอบรู้ทุกงาน • เพื่อ Career Path • การเลื่อนตำแหน่ง Promotion • เลือกคนดีที่สุด ไม่ใช่ใกล้ชิดที่สุด • มีขบวนการคัดเลือกที่เป็นธรรมที่สุด เช่น ใช้คณะกรรมการ ศึกษาประวัติ ใช้ผลการประเมินประสิทธิภาพในการปฏิบัติ • การลดชั้น Demotion
การโยกย้าย ( Transfer ) • การเปลี่ยนแปลงตำแหน่งจากตำแหน่ง หนึ่งไปยังอีกตำแหน่งหนึ่งแต่ค่าจ้าง หน้าที่ ความรับผิดชอบอยู่ระดับเดียวกัน
สาเหตุของการโยกย้าย 1.พนักงานขอย้ายเอง 2.องค์การเห็นความเหมาะสม
การเปลี่ยนแปลงตำแหน่ง(Chang ofPosition) • Promotion การเลื่อนตำแหน่ง • Transfer การโยกย้าย • Demotion การลดขั้น • Lay off การงดจ้างชั่วคราว
การเลื่อนตำแหน่ง ( Promotion ) • การมอบหมายงานให้บุคคลได้ทำงานในตำแหน่งที่สูงขึ้นซึ่งเป็นการแสดงถึงความสำเร็จ/ความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน
หลักเกณฑ์ในการเลื่อนตำแหน่งหลักเกณฑ์ในการเลื่อนตำแหน่ง • 1.Merit or Ability Factor สอบ • 2.Seniority /Experience อาวุโส+ประสบการณ์ • 3.Merit/Seniority ความรู้+อาวุโส • 4.Patronage System อุปถัมภ์
การบริหารค่าตอบแทน คือการบริหารค่าตอบแทนที่ให้กับพนักงานซึ่งรวมถึงการจ่ายค่าจ้างแรงงานเงินเดือนผลประโยชน์ต่างๆเช่นสวัสดิการเรื่องการประกันภัยการลาหยุดการลาพักร้อนผลประโยชน์โบนัสค่ารักษาพยาบาลเป็นต้น
ค่าตอบแทน ( Compensation ) • เงินเดือน( Salary) • ค่าจ้าง ( Wage) • สวัสดิการ ( Benefits)
หลักเกณฑ์ในการกำหนดเงินเดือน/ค่าจ้างหลักเกณฑ์ในการกำหนดเงินเดือน/ค่าจ้าง • ระดับค่าจ้าง ตลาดแรงงาน • โครงสร้างของค่าจ้าง • การประเมินผลการปฏิบัติงาน • กรณีพิเศษ • ผลประโยชน์อย่างอื่น
ผลประโยชน์ตอบแทน Compensation & Frings Benefits • องค์การจะต้องเตรียมจัดสรรผลประโยชน์ตอบแทนในรูปของค่าจ้าง หรือเงินเดือน หรือผลประโยชน์เกื้อกูลต่าง ๆ คือ • ค่าจ้างและเงินเดือน ชั่วโมง รายวัน รายสัปดาห์ หรือชิ้นของงานเป็นค่าจ้าง ส่วนเงินเดือน เป็นเหมารายเดือน • ผลประโยชน์เกื้อกูล นอกเหนือจากค่าจ้างและเงินเดือน เช่น โบนัส สวัสดิการ ค่ารักษาพยาบาล ค่าคอมมิชชั่น ค่าเทอมบุตร ประกันชีวิต ประกันสังคม ฯลฯ
การประเมินการปฏิบัติงาน( Performance Appraisal ) • การประเมินคุณค่าการทำงานของบุคคล ในระยะเวลาที่กำหนดไว้ เพื่อปรับปรุงการทำงาน และพิจารณาความดีความชอบแก่ผู้ปฏิบัติงาน
ข้อควรพิจารณาในการประเมินการปฏิบัติงานข้อควรพิจารณาในการประเมินการปฏิบัติงาน • 1.มาตรฐานการปฏิบัติงาน • 2.การวัดความก้าวหน้า • 3.การกำหนดผู้ประเมิน ( 360 องศา ) • 4.คุณสมบัติของผู้ประเมิน
วิธีการประเมินการปฏิบัติงานวิธีการประเมินการปฏิบัติงาน 1.การจัดอันดับแบบกราฟ( Graphic Rating Scale ) -กำหนดรายการคุณลักษณะของการปฏิบัติงาน -กำหนดระดับความเข้มความถี่ -มี 2 แบบ แบบต่อเนื่อง แบบไม่ต่อเนื่อง
ข้อดี -ง่ายต่อการใช้ -สามารถเปรียบเทียบคะแนนได้ • ข้อเสีย -มีแนวโน้มให้คะแนนสูง