1 / 27

กฎหมายธุรกิจ 3200 – 1002 อาจารย์ขวัญตา จั่นอิ๊ด Tel. 083-989-3239

กฎหมายธุรกิจ 3200 – 1002 อาจารย์ขวัญตา จั่นอิ๊ด Tel. 083-989-3239. จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้ 1. มีความรู้ในหลักกฎหมายที่สำคัญในทางธุรกิจ 2. ทราบถึงวิธีปฏิบัติที่ถูกต้องตามกฎหมายเกี่ยวกับเอกเทศสัญญาต่าง ๆ 3. ทราบถึงปัญหาและการแก้ไขปัญหาเบื้องต้นในทางธุรกิจ. มาตรฐานรายวิชา

chill
Download Presentation

กฎหมายธุรกิจ 3200 – 1002 อาจารย์ขวัญตา จั่นอิ๊ด Tel. 083-989-3239

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กฎหมายธุรกิจ 3200 – 1002 อาจารย์ขวัญตา จั่นอิ๊ด Tel. 083-989-3239

  2. จุดประสงค์รายวิชาเพื่อให้จุดประสงค์รายวิชาเพื่อให้ 1. มีความรู้ในหลักกฎหมายที่สำคัญในทางธุรกิจ 2. ทราบถึงวิธีปฏิบัติที่ถูกต้องตามกฎหมายเกี่ยวกับเอกเทศสัญญาต่าง ๆ 3. ทราบถึงปัญหาและการแก้ไขปัญหาเบื้องต้นในทางธุรกิจ

  3. มาตรฐานรายวิชา 1. เข้าใจหลักกฎหมายที่สำคัญ ๆ ในทางธุรกิจ 2. เข้าใจขั้นตอนการปฏิบัติตามกฎหมายในการประกอบธุรกิจต่าง ๆ 3. นำความรู้ทางกฎหมายที่เกี่ยวกับธุรกิจไปใช้ในการประกอบธุรกิจต่าง ๆ 4. แก้ไขปัญหาเบื้องต้นในทางกฎหมาย รวมทั้งนำไปประยุกต์ใช้ในทางธุรกิจและการดำเนินชีวิต

  4. บทที่ 1 กฎหมายลักษณะบุคคล

  5. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บอกความหมายของบุคคลได้ 2. บอกการเริ่มสภาพบุคคลและการสิ้นสภาพบุคคลได้ 3. อธิบายส่วนประกอบของบุคคลได้ 4. อธิบายเรื่องนิติบุคคลได้

  6. บุคคลคือ สิ่งที่สามารถมีสิทธิและหน้าที่ได้ตามกฎหมาย บุคคลแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ 1. บุคคลธรรมดา 2. นิติบุคคล

  7. การเริ่มสภาพบุคคล สภาพบุคคลย่อมเริ่มเมื่อ 1. คลอด และ 2. อยู่รอดเป็นทารก

  8. การสิ้นสภาพบุคคล แบ่งออกเป็น 2 กรณีคือ 1.การตาย 2. การสาบสูญ

  9. หลักเกณฑ์ของการเป็นคนสาบสูญหลักเกณฑ์ของการเป็นคนสาบสูญ 1.กรณีธรรมดาถ้าบุคคลใดได้ไปจากภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่ และไม่มีใครรู้แน่ว่าบุคคลนั้นยังมีชีวิตอยู่หรือไม่ตลอดระยะเวลา 5 ปี

  10. 2. กรณีพิเศษระยะเวลา 2ปี 2.1นับแต่วันที่การรบหรือสงครามสิ้นสุด 2.2นับแต่วันที่ยานพาหนะที่บุคคลนั้นเดินทาง อับปาง ถูกทำลาย หรือสูญหายไป

  11. สิ่งที่ประกอบเป็นสภาพบุคคลสิ่งที่ประกอบเป็นสภาพบุคคล 1. สัญชาติ 2. ชื่อ 3. ภูมิลำเนา 4. สถานะ 5. ความสามารถ

  12. 1. สัญชาติ- การได้สัญชาติไทยโดยการเกิด 1. ผู้เกิดโดยมีบิดาหรือมารดาเป็นผู้มีสัญชาติไทย 2. ผู้เกิดในราชอาณาจักรไทย ยกเว้นคนต่างด้าวและคณะฑูต - การได้สัญชาติหลังการเกิด 1. โดยการสมรส 2. โดยการขอแปลงสัญชาติ

  13. 2. ส่วนประกอบของชื่อบุคคล 1. ชื่อตัว หมายความว่า ชื่อประจำบุคคล 2. ชื่อรอง หมายความว่า ชื่อประกอบถัดจากชื่อตัว 3. ชื่อสกุล หมายความว่า ชื่อประจำวงศ์สกุล

  14. 3. การกำหนดภูมิลำเนา 1. เป็นถิ่นอันเป็นสถานที่อยู่ของบุคคล 2. สถานที่อยู่นั้นต้องเป็นแหล่งสำคัญ

  15. 4. สถานะคือ ตำแหน่งหรือฐานะของบุคคลดำรงอยู่ในประเทศ ในครอบครัว - คนเกิดแจ้งภายใน 15-30 วัน - คนตายในบ้าน แจ้งภายใน 24 ชั่วโมง - การสมรส กำหนดให้จดทะเบียน 1 ต.ค. 2478 - การหย่า - การรับรองบุตร - การรับบุตรบุญธรรม

  16. 5. ความสามารถ 1. ความสามารถในการมีสิทธิ 2. ความสามารถในการใช้สิทธิ มนุษย์ย่อมมีสิทธิและหน้าที่ตั้งแต่เริ่มมีสภาพเป็นบุคคล

  17. บุคคลที่กฎหมายจำกัดความสามารถในการใช้สิทธิบุคคลที่กฎหมายจำกัดความสามารถในการใช้สิทธิ 1.ผู้เยาว์ 2.คนไร้ความสามารถ 3.คนเสมือนไร้ความสามารถ

  18. หลักเกณฑ์ของการเป็นคนไร้ความสามารถหลักเกณฑ์ของการเป็นคนไร้ความสามารถ 1. ต้องเป็นอย่างมาก คือวิกลจริตชนิดที่พูดจาไม่รู้เรื่อง 2. เป็นอยู่ประจำ คือวิกลจริตอยู่สม่ำเสมอ ศาลจะใช้ดุลยพินิจไต่สวนถ้ามีหลักฐานเพียงพอและมีเหตุผลสมควรแล้ว ศาลก็จะสั่งให้บุคคลวิกลจริตนั้นเป็นคนไร้ความสามารถ

  19. ผลของการเป็นคนไร้ความสามารถผลของการเป็นคนไร้ความสามารถ 1. ต้องอยู่ในความดูแลของผู้อนุบาล 2. ถูกกฎหมายจำกัดความสามารถในการทำนิติกรรม

  20. หลักเกณฑ์ของการเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถหลักเกณฑ์ของการเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ 1. มีเหตุบกพร่องบางอย่าง 1.1 กายพิการ 1.2 จิตฟั่นเฟือน 1.3 ประพฤติสุรุ่ยสุร่ายเสเพลเป็นอาจิณ 1.4 ติดสุรายาเมา 2. ไม่สามารถจะจัดทำการงานโดยตนเองได้ ศาลจะใช้ดุลยพินิจไต่สวนถ้ามีหลักฐานเพียงพอและมีเหตุผลสมควรแล้ว ศาลก็จะสั่งให้บุคคลนั้นเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ

  21. ผลของการเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถผลของการเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ 1. ต้องอยู่ในความดูแลของผู้พิทักษ์ 2. ไม่สามารถทำนิติกรรมบางชนิด

  22. นิติบุคคลประกอบไปด้วยนิติบุคคลประกอบไปด้วย 1.คณะบุคคลที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมาย เช่น ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด สมาคมกระทรวง ทบวง กรม 2.กิจการหรือกองทรัพย์สินที่จัดตั้งขึ้นเพื่อสาธารณะประโยชน์ เช่น มูลนิธิ

  23. นิติบุคคลตามกฎหมายมหาชนนิติบุคคลตามกฎหมายมหาชน 1. กระทรวง 2. ทบวง 3. กรม 4. นายกรัฐมนตรี

  24. นิติบุคคลตามพระราชบัญญัติต่างๆนิติบุคคลตามพระราชบัญญัติต่างๆ 1. เมืองพัทยา 2. คณะกรรมการการเลือกตั้ง 3. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 4. เนติบัณฑิตสภา

  25. นิติบุคคลตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์นิติบุคคลตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ 1. ห้างหุ้นส่วนที่จดทะเบียนแล้ว 2. บริษัทจำกัด 3. สมาคม 4. มูลนิธิได้รับอำนาจแล้ว

  26. สิทธิและหน้าที่ของนิติบุคคลสิทธิและหน้าที่ของนิติบุคคล 1.ต้องดำเนินการตามขอบแห่งอำนาจหน้าที่หรือวัตถุประสงค์ 2. ไม่สามารถมีสิทธิและหน้าที่ซึ่งโดยสภาพจะพึงมีพึงเป็นไปได้เฉพาะบุคคลธรรมดา

  27. ภูมิลำเนาของนิติบุคคลภูมิลำเนาของนิติบุคคล 1.ถิ่นที่ตั้งสำนักงานใหญ่ 2. ถิ่นอันเป็นที่ตั้งทำการ 3. ถิ่นที่ได้เลือกไว้ตามตราสารจัดตั้ง 4. ถิ่นที่ตั้งสำนักงานสาขา

More Related