1.21k likes | 3.5k Views
การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ของผู้เรียนตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน. การพัฒนาศักยภาพด้านการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Desirable characteristic assessment) ศน. พรเพ็ญ ฤทธิ ลัน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3
E N D
การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะการสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ของผู้เรียนตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน การพัฒนาศักยภาพด้านการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Desirable characteristic assessment) ศน.พรเพ็ญ ฤทธิลัน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ธรรมชาติของการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ธรรมชาติของการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ • การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์เป็นการวัดทางอ้อม ไม่สามารถวัดได้โดยตรงจากประสาทสัมผัสทั้ง 5 • การประเมินมีความคลาดเคลื่อนได้ง่ายเนื่องจากอารมณ์หรือความรู้สึกอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามสถานการณ์หรือเงื่อนไข • การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไม่มีถูก-ผิด • แหล่งข้อมูลในการประเมินสามารถวัดได้จากหลายฝ่าย • การประเมินต้องใช้สถานการณ์จำลองเป็นเงื่อนไขให้ผู้ถูกวัดตอบข้อคำถาม
ขั้นตอนของการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ขั้นตอนที่ 1ศึกษาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร ขั้นตอนที่ 2ศึกษาแนวคิดทฤษฏี หลักการที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนที่ 3ศึกษาแนวปฏิบัติในการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ขั้นตอนที่ 4ศึกษาข้อมูลพื้นฐานของผู้เรียนก่อนการพัฒนา ขั้นตอนที่ 5สร้างหรือเลือกเครื่องมือที่เหมาะสม/สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนา ขั้นตอนที่ 6ดำเนินการพัฒนาผู้เรียนตามแนวทางที่กำหนดไว้และประเมิน เป็นระยะ ๆ ขั้นตอนที่ 7รายงานผลการพัฒนาต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง
การวิเคราะห์คุณลักษณะอันพึงประสงค์เพื่อวางแผนสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลการวิเคราะห์คุณลักษณะอันพึงประสงค์เพื่อวางแผนสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผล
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 1. คุณลักษณะที่เป็นจุดเน้นสำคัญของหลักสูตรแกนกลาง 8 ประการ 2. คุณลักษณะที่แฝงอยู่ในมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดในแต่ละ กลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม
1. คุณลักษณะที่เป็นจุดเน้นสำคัญของหลักสูตรแกนกลาง 8 ประการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2) ซื่อสัตย์สุจริต 3) มีวินัย 4) ใฝ่เรียนรู้ 5) อยู่อย่างพอเพียง 6) มุ่งมั่นในการทำงาน 7) รักความเป็นไทย 8) มีจิตสาธารณะ
2. คุณลักษณะที่แฝงอยู่ในมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดในแต่ละ กลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์(P)และจิตวิทยาศาสตร์(A)ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ(K)ที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
1. ระบุระดับชั้นและเลือกคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ต้องการจะประเมิน - คุณลักษณะที่เป็นจุดเน้นของหลักสูตร 8 ประการ - คุณลักษณะที่แฝงอยู่มาตรฐานหรือตัวชี้วัดในแต่ละกลุ่ม สาระการเรียนรู้ 2. กำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ต้องการจะประเมินให้ชัดเจน 3. กำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการความหมายของคุณลักษณะที่ต้องการวัด การวิเคราะห์คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
4.กำหนดตัวชี้วัดของแต่ละคุณลักษณะอันพึงประสงค์4.กำหนดตัวชี้วัดของแต่ละคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 5. กำหนดพฤติกรรมบ่งชี้ในแต่ละคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 6. กำหนดพฤติกรรมสำคัญของคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่วิเคราะห์ได้จากพฤติกรรมบ่งชี้ 7. ตรวจสอบผลการวิเคราะห์คุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ต้องการวัด - ตรวจสอบความสอดคล้อง - ตรวจสอบความเหมาะสม การวิเคราะห์คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
ความหมาย นิยามเชิงปฏิบัติการ เป็นการอธิบายความหมายของคุณลักษณะและขอบเขตของคุณลักษณะที่ต้องการวัดที่มีลักษณะเป็นนามธรรมให้เข้าใจตรงกัน ดังนั้นหลักการสำคัญของการกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ คือ ควรระบุเป็นพฤติกรรมที่แสดงออกเป็นรูปธรรม และสามารถสังเกตหรือวัดได้อย่างชัดเจนว่า พฤติกรรมนั้นๆ ของบุคคลเกิดขึ้นจริงหรือไม่ และมีความถี่ในการปฏิบัติมากน้อยเพียงใด การกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ตัวอย่างนิยามเชิงปฏิบัติการ
ข้อที่ 1 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ตัวอย่างการวิเคราะห์คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ
ข้อที่ 1 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ตัวอย่างการวิเคราะห์คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ
ข้อที่ 1 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ตัวอย่างการวิเคราะห์คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ
ข้อที่ 1 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ตัวอย่างการวิเคราะห์คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ
การออกแบบการประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
วิธีการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์วิธีการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ผู้เรียนประเมินตนเอง 2. ผู้เรียนถูกประเมินโดยผู้อื่น 3. ประเมินแบบผสมผสานหรือ ประเมินจากหลายแหล่ง
เครื่องมือวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์เครื่องมือวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. แบบสังเกต ( observation) 2. แบบสัมภาษณ์ (interview) 3. แบบตรวจสอบรายการ (check list) 4. แบบมาตรประมาณค่า (rating scale) 5. แบบวัดสถานการณ์ (situation) 6. แบบบันทึกพฤติกรรม (anecdotal records) 7. แบบรายงานพฤติกรรมตนเอง (self report)
เครื่องมือวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์เครื่องมือวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตัวอย่างเครื่องมือวัด “มีจิตสาธารณะ”
นิยาม / ตัวชี้วัด /พฤติกรรมบ่งชี้
ท่านชื่นชอบต่อคำตอบของคุณยายข้อใดมากที่สุดท่านชื่นชอบต่อคำตอบของคุณยายข้อใดมากที่สุด • ก. ฉันก็เห็นมามากมายเหมือนกัน (มีความรู้สึกที่ดีต่อความซื่อสัตย์ในระดับ ๒) • ข. ไม่จริงเสมอไปหรอก (มีความรู้สึกที่ดีต่อความซื่อสัตย์ในระดับ ๓) • ค. ฉันก็ว่าอย่างนั้นแหละ (มีความรู้สึกที่ดีต่อความซื่อสัตย์ในระดับ ๑) • ง. ก็ดีกว่าเป็นอย่างอื่นละ (มีความรู้สึกที่ดีต่อความซื่อสัตย์ในระดับ ๔)
แบบมาตรประมาณค่า (Rating scale) คำชี้แจง ให้พิจารณาข้อความ แล้วเขียนเครื่องหมาย ลงในช่องว่าง เป็นจริงมากที่สุด เป็นจริง เฉยๆ เป็นจริงน้อย เป็นจริงน้อยที่สุด ที่ตรงกับความรู้สึกหรือพฤติกรรมของนักเรียนมากที่สุด
รูปแบบการดำเนินการประเมินฯในสถานศึกษารูปแบบการดำเนินการประเมินฯในสถานศึกษา 1. สถานศึกษาที่มีความพร้อมค่อนข้างสูงถึงสูงมาก ครูทุกคนได้มีส่วนร่วมในการพัฒนานักเรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ทุกข้อตามที่สถานศึกษากำหนด รวมทั้งมีส่วนร่วมในการประเมินผล
กระบวนการปลูกฝังผ่านกลุ่มสาระและกิจกรรมกระบวนการปลูกฝังผ่านกลุ่มสาระและกิจกรรม ภาษาไทย 1 2 3 4 5 6 7 8 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1 2 3 4 5 6 7 8 คณิตศาสตร์ 1 2 3 4 5 6 7 8 ครูวัดผล วิทยาศาสตร์ 1 2 3 4 5 6 7 8 สังคมศึกษาฯ 1 2 3 4 5 6 7 8 สุขศึกษาฯ 1 2 3 4 5 6 7 8 ศิลปะ 1 2 3 4 5 6 7 8 การงานอาชีพฯ ครูผู้สอน/ครูที่รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม ส่งระดับ การประเมินตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ประมวลผล 1 2 3 4 5 6 7 8 ภาษาต่างประเทศ 1 2 3 4 5 6 7 8 ชมรม/ชุมนุม 1 2 3 4 5 6 7 8 โครงการ/กิจกรรม อนุมัติ รูปแบบที่ 1
รูปแบบการดำเนินการประเมินฯในสถานศึกษารูปแบบการดำเนินการประเมินฯในสถานศึกษา 2. สถานศึกษาที่มีความพร้อมปานกลาง มีจำนวนบุคลากรครูที่ครบชั้นเรียน มีครูพิเศษบ้างแต่ไม่มากนักครูคนหนึ่ง อาจต้องเป็นทั้งผู้สอนและทำงานส่งเสริม
รูปแบบที่ 2 กระบวนการปลูกฝังผ่านกลุ่มสาระและกิจกรรม เลือกคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ที่สอดคล้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ภาษาไทย ครูวัดผล 1 2 3 4 5 6 7 3 5 6 8 คณิตศาสตร์ 2 3 4 5 6 8 วิทยาศาสตร์ 2 4 6 8 สังคมศึกษาฯ 1 3 4 5 6 ครูผู้สอนแต่ละกลุ่มสาระส่งผลการประเมิน สุขศึกษาฯ ประมวลผล 2 3 4 6 8 ศิลปะ 8 1 2 3 4 6 7 การงานอาชีพฯ 2 3 4 6 8 ภาษาต่างประเทศ 1 2 3 4 5 6 7 8 ชมรม/ชุมนุม 1 2 3 4 5 6 7 8 โครงการ/กิจกรรม อนุมัติ
รูปแบบการดำเนินการประเมินฯในสถานศึกษารูปแบบการดำเนินการประเมินฯในสถานศึกษา 3. สถานศึกษาขนาดเล็กมีความพร้อมน้อย ที่มีครูไม่ครบชั้นหรือครบชั้น แต่ครูคนหนึ่งต้อง ทำหลายหน้าที่ อีกทั้งความพร้อมของทรัพยากร ด้านอื่นๆ มีน้อย ประเมินแบบผสมผสาน หรือ ประเมินจากหลายแหล่ง เช่น พ่อแม่ ผู้ปกครอง ฯลฯ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1 2 3 4 5 6 7 8 รูปแบบที่ 3 กระบวนการปลูกฝังผ่านกลุ่มสาระและกิจกรรม ครูประจำชั้น หรือ ครูประจำวิชา ประเมินหรือ ร่วมประเมินนักเรียน ทุกคน ทุกคุณลักษณะ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ อนุมัติ ครูประจำชั้นสรุประดับคุณภาพตามสภาพจริง สุขศึกษาฯ ศิลปะ การงานอาชีพฯ ภาษาต่างประเทศ ชมรม/ชุมนุม ครูผู้รับผิดชอบ พัฒนาและประเมิน โครงการ/กิจกรรม
ระยะเวลาวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ระยะเวลาวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์เป็นการประเมินอย่างต่อเนื่อง อาจประเมินเป็น - รายสัปดาห์ - รายเดือน - รายภาค - รายปี ส่วนการรายงานผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ควรสรุปและรายงานให้กลุ่มเป้าหมายทราบเป็นระยะ ๆ หรืออย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครั้ง
การเลือกวิธีการวัด และเครื่องมือวัด ในการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์นั้น ควรใช้เครื่องมือและวิธีการวัดที่หลากหลาย ข้อมูลจึงจะน่าเชื่อถือ ดังนั้นครูผู้สอนจึงควรมีวิธีการวัดให้เหมาะสมกับเครื่องมือวัดและประเมินให้เหมาะสมกับตัวชี้วัด / พฤติกรรมบ่งชี้
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
คุณลักษณะอันพึงประสงค์คุณลักษณะอันพึงประสงค์ นิยามเชิงทฤษฎี นิยามเชิงปฏิบัติการ ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด แนวคิด/ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง พฤติกรรมบ่งชี้ พฤติกรรมบ่งชี้ พฤติกรรมบ่งชี้ สร้างข้อคำถามในแบบประเมิน การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ การตัดสินและแปลผลการประเมิน แนวทางการสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
คุณภาพของแบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์คุณภาพของแบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.ความตรง/ความเที่ยงตรง (validity) 2. ความเที่ยง/เชื่อมั่น (reliability) 3. อำนาจจำแนก (discrimination )
1. ความตรง/เที่ยงตรง (Validity) ความถูกต้องแม่นยำของเครื่องมือในการวัด สิ่งที่ต้องการจะวัด ประเภทของความเที่ยงตรง 1. ความตรงตามเนื้อหา (Content Validity)เนื้อหาของเครื่องมือ หรือเนื้อหาของข้อคำถามวัดได้ตรงตามประเด็นหรือตัวชี้วัดที่ต้องการวัดหรือไม่? 2. ความตรงเชิงโครงสร้าง (Construct Validity)เครื่องมือนั้นสามารถวัดได้ครอบคลุมขอบเขต ความหมาย หรือครบตามคุณลักษณะประจำตามทฤษฎีที่ใช้สร้างเครื่องมือหรือไม่?
1. ความตรง/เที่ยงตรง (Validity) ประเภทของความตรง (ต่อ) 3. ความตรงตามเกณฑ์สัมพันธ์ (Criterion-related Validity) เครื่องมือวัดได้ตรงตามสภาพที่ต้องการวัด โดยพิจารณาจากเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องว่าเครื่องมือนั้นจะใช้ทำนายพฤติกรรมของบุคคลในสภาพเฉพาะเจาะจงตามต้องการหรือไม่? จำแนกได้ 2 ชนิด คือ 3.1 ความตรงร่วมสมัยหรือตามสภาพที่เป็นจริง (Concurrent Validity) สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงในปัจจุบัน 3.2 ความตรงเชิงทำนาย (Predictive Validity)สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง หรือสภาพความสำเร็จในอนาคต
การตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา (Content validity) • การหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับลักษณะเฉพาะกลุ่มพฤติกรรม (IOC) • การหาค่าดัชนีความเหมาะสมระหว่างข้อคำถามลักษณะเฉพาะกลุ่มพฤติกรรม • การหาค่าอัตราส่วนความตรงเชิงเนื้อหา ( Content Validity ratio: CVR)
การตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้างการตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้าง (Construct validity) • การตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างคะแนนเป็นรายข้อกับคะแนนทั้งฉบับ • ใช้วิธีกลุ่มที่รู้จัก (Known Group Technique) • ใช้การวิเคราะห์องค์ประกอบ (Factor Analysis)
2. ความเที่ยง/เชื่อมั่น (Reliability) ความคงที่หรือความคงเส้นคงวาของผลที่ได้จากการวัด วิธีการประมาณค่าความเที่ยง • การสอบซ้ำ (Test-retest Method) • การใช้เครื่องมือวัดที่คู่ขนานกัน (Parallel form Method) • การหาความสอดคล้องภายในของเครื่องมือ (Coefficient of Internal Consistency)
3. อำนาจจำแนก (Discrimination) ความสามารถของข้อสอบแต่ละข้อในการจำแนกคนที่อยู่ในกลุ่มที่มีคุณลักษณะออกจากกลุ่มคนที่ไม่มีคุณลักษณะ วิธีการประมาณค่า • การตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างคะแนนเป็นรายข้อกับคะแนนรวมจากข้อที่เหลือทั้งฉบับ • เปรียบเทียบคะแนนกลุ่มที่มีคุณลักษณะกับไม่มีคุณลักษณะ (หาค่า t-test เป็นรายข้อ)
การตรวจสอบคุณภาพ เครื่องมือประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เครื่องมือ ความตรง ความเที่ยง ความยากง่าย อำนาจจำแนก มาตรประมาณค่า แบบทดสอบ แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์
การสรุปผลและ นำผลการประเมินไปใช้
ขั้นตอนการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะขั้นตอนการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะ กำหนดนิยาม/ตัวชี้วัด/พฤติกรรมบ่งชี้ คุณลักษณะ ทฤษฎี ดำเนินการพัฒนาคุณลักษณะ การนำผลการประเมินไปใช้ กิจกรรมในหลักสูตร กิจกรรมเสริมหลักสูตร การแปลความหมาย ประเมินคุณลักษณะ
คุณลักษณะที่ต้องการวัดคุณลักษณะที่ต้องการวัด ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด item item item
ตัวอย่าง ตารางบันทึกผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายห้องเรียน ข้อที่ 1 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ตัวชี้วัด 1 เป็นพลเมืองดีของชาติ พฤติกรรมบ่งชี้: บอกความหมายของเพลงชาติได้ถูกต้อง