581 likes | 2.9k Views
การวางแผนการตรวจสอบ. หมายถึง การพัฒนากลยุทธ์ทั่วไปและวิธีการโดยละเอียดสำหรับ. ลักษณะของการตรวจสอบ. ทดสอบการควบคุม ตรวจสอบเนื้อหาสาระ. ระยะเวลาและจังหวะเวลา ของการตรวจสอบ. Interim Visit Final Visit. ขอบเขตของการตรวจสอบ. ปริมาณการเลือก ตัวอย่างมาทดสอบ. รายละเอียดของงานตรวจสอบ. ดัชนี.
E N D
การวางแผนการตรวจสอบ หมายถึง การพัฒนากลยุทธ์ทั่วไปและวิธีการโดยละเอียดสำหรับ ลักษณะของการตรวจสอบ • ทดสอบการควบคุม • ตรวจสอบเนื้อหาสาระ ระยะเวลาและจังหวะเวลา ของการตรวจสอบ • Interim Visit • Final Visit ขอบเขตของการตรวจสอบ ปริมาณการเลือก ตัวอย่างมาทดสอบ สวียา ปรารถนาดี
รายละเอียดของงานตรวจสอบรายละเอียดของงานตรวจสอบ ดัชนี ปลั๊ก เข็ม ข้าว ตอง ก่อ (1) (2) (1) (2) (1) (2) (1) (2) (1) (2) เจ้าหนี้การค้าและตั๋วเงินจ่าย L หนี้สินหมุนเวียนอื่น M ทุนเรือนหุ้น N สำรองตามกฏหมาย O กำไร (ขาดทุน) สะสม P รายได้และค้าใช้จ่าย R ใบสำคัญรายวันทั่วไป Y รวม ส่วนหนึ่งของแผนการตรวจสอบ หมายเหตุ (1) การตรวจสอบก่อนวันสิ้นงวด (…………………………….…………) (2) การตรวจสอบสิ้นงวด (……………………………………….) สวียา ปรารถนาดี
รวบรวมหลักฐานได้อย่างเพียงพอเหมาะสมรวบรวมหลักฐานได้อย่างเพียงพอเหมาะสม ต้นทุนในการตรวจสอบเกิดขึ้นอย่างเหมาะสม ลูกค้าให้ความร่วมมือและป้องกันการเข้าใจผิด ให้ CPA มั่นใจได้ว่ามีการพิจารณาเรื่องที่สำคัญอย่างเหมาะสม และสามารถระบุและจัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้นได้ เกิดการมอบงานอย่างเหมาะสม ประโยชน์ของการวางแผน การตรวจสอบ สวียา ปรารถนาดี
ขั้นตอนของการวางแผนงานสอบบัญชีขั้นตอนของการวางแผนงานสอบบัญชี การพิจารณารับงานสอบบัญชี การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับธุรกิจที่ตรวจสอบ การวิเคราะห์เปรียบเทียบในเบื้องต้น การกำหนดระดับความมีสาระสำคัญ การประเมินความเสี่ยงในการสอบบัญชีที่ยอมรับได้ การทำความเข้าใจในระบบการควบคุมภายในและ การประเมินความเสี่ยงจากการควบคุม การพัฒนาแผนการสอบบัญชีโดยรวมและแนวการสอบบัญชี สวียา ปรารถนาดี
การรวบรวมข้อมูลธุรกิจที่ตรวจสอบการรวบรวมข้อมูลธุรกิจที่ตรวจสอบ • เพื่อให้เข้าใจในระบบบัญชี และวิธีการปฏิบัติทางบัญชีของกิจการที่ตรวจสอบ • เพื่อช่วยประเมินความเสี่ยงสืบเนื่องของกิจการที่ตรวจ • แหล่งความรู้เกี่ยวกับธุรกิจและกิจการที่ตรวจสอบ • ประสบการณ์ตรวจสอบของปีที่ผ่านมา • การปรึกษาหารือกับบุคลากรของกิจการ • หารือกับผู้สอบบัญชีอื่น ที่ปรึกษา กม. และด้านอื่นๆ • หารือกับผู้ที่มีความรู้จากภายนอกกิจการ • สิ่งตีพิมพ์ที่เกี่ยวกับธุรกิจ • กม. และ กฏเกณฑ์ที่มีผลกระทบสำคัญ • ตรวจเยี่ยมสถานประกอบการและโรงงาน • เอกสารที่กิจการจัดทำ สวียา ปรารถนาดี
การวิเคราะห์เปรียบเทียบในเบื้องต้นการวิเคราะห์เปรียบเทียบในเบื้องต้น บริษัท ตัวอย่าง จำกัด ข้อมูลทางการเงินสำหรับการวิเคราะห์เปรียบเทียบ (บางส่วน) สำหรับปี 25x4และ 25x3 หน่วย : ล้านบาท สวียา ปรารถนาดี
การกำหนดระดับความมีสาระสำคัญการกำหนดระดับความมีสาระสำคัญ ระดับความมีสาระสำคัญ (Materiality Level)หมายถึง ระดับความไม่ถูกต้องของรายการและข้อมูลที่ผู้สอบบัญชียอมรับได้ โดยผู้สอบบัญชีสามารถแสดงความเห็นต่องบการเงินอย่างไม่มีเงื่อนไขได้ แม้ว่า จะพบความไม่ถูกต้องของรายการและข้อมูลในงบการเงินซึ่งมิได้มีการปรับปรุงแก้ไข Accept 5% No Adjustment for 3% mistake Wrong 3% Clean Report Materiality Level สวียา ปรารถนาดี
เกณฑ์ในการกำหนดระดับความมีสาระสำคัญเกณฑ์ในการกำหนดระดับความมีสาระสำคัญ • ความมีสาระสำคัญเป็นการเปรียบเทียบเชิงสัมพัทธ์ มีสาระสำคัญไม่มีสาระสำคัญ ยอดขายที่ไม่ได้บันทึก 200,000 200,000 กำไรสุทธิ 5,000 65 ล้าน • สาระสำคัญ อาจกำหนดโดยใช้รายการในงบการเงินเป็นฐาน • เช่น หากมีการขัดต่อข้อเท็จจริง 10% ของกำไรสุทธิก่อนภาษี จะถือว่ารายการมีสาระสำคัญ ต้องปรับปรุงรายการ • (ฐาน : จากสินทรัพย์รวม จากกำไรขั้นต้น จากสินทรัพย์หมุนเวียน) สวียา ปรารถนาดี
เกณฑ์ในการกำหนดระดับความมีสาระสำคัญเกณฑ์ในการกำหนดระดับความมีสาระสำคัญ • สาระสำคัญ อาจกำหนดโดยจากลักษณะของการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริง เพราะบางรายการอาจมีสาระสำคัญ ถึงแม้ว่าจะไม่สามารถระบุจำนวนเงินได้ เป็นข้อมูลที่ขัดข้อเท็จจริงเชิงคุณภาพ เช่น การเปิดเผยนโยบายบัญชีที่ไม่ถูกต้องและไม่เพียงพอ • ข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงมีจำนวนเงินน้อย • แต่เมื่อรวมหลายรายการแล้ว อาจมีสาระสำคัญ สวียา ปรารถนาดี
ความเสี่ยงที่เกี่ยวกับการปฏิบัติงานสอบบัญชีความเสี่ยงที่เกี่ยวกับการปฏิบัติงานสอบบัญชี ความเสี่ยงในการปฏิบัติงานตามวิชาชีพ ความเสี่ยงในการให้บริการแก่ลูกค้า ความเสี่ยงในการสอบบัญชี ความเสี่ยง จากการ ควบคุม ความเสี่ยง จากการ ตรวจสอบ ความเสี่ยง สืบเนื่อง สวียา ปรารถนาดี
Inherent Riskความเสี่ยงสืบเนื่อง • อาจเกิดข้อผิดพลาดที่สำคัญในงบ (ไม่คำนึงถึงระบบควบคุม) • Control Riskความเสี่ยงจากการควบคุม • ระบบควบคุมภายในอาจไม่สามารถป้องกัน/พบข้อผิดพลาดนั้นๆ • Detective Riskความเสี่ยงจากการตรวจสอบ • ผู้สอบบัญชีอาจตรวจไม่พบข้อผิดพลาดนั้นๆ IR AUDIT RISKผู้สอบบัญชีออกความเห็นผิด CR DR เช่น ...แสดงความเห็นโดยไม่มีเงื่อนไขเกี่ยวกับงบการเงินที่ผิดพลาดอย่างร้ายแรง สวียา ปรารถนาดี
Accounting System มีความเสี่ยงที่อาจเกิดข้อผิด พลาดที่สำคัญในงบการเงิน IR มีความเสี่ยงที่ระบบควบคุม อาจไม่สามารถป้องกัน/ ค้นพบข้อผิดพลาดได้ Internal Control CR Audit Procedure มีความเสี่ยงที่ผู้สอบบัญชีอาจ ตรวจไม่พบข้อผิดพลาดนั้น DR Financial Statement AUDIT RISK ออกความเห็นผิด !!! รวมถึงความเสี่ยงจากการเลือกตัวอย่างSampling Risk สวียา ปรารถนาดี
แบบจำลองความเสี่ยงในการสอบบัญชีแบบจำลองความเสี่ยงในการสอบบัญชี AAR = IR x CR x PDR PDR = AAR IR x CR ความหมาย สวียา ปรารถนาดี
PDR =AAR IR x CR For Example PDR = 5 % 50% x 40% = 0.05 0.5 x 0.4 = 0.25 =25% PDR = 5 % 100% x 100% = 0.05 1 x 1 = 0.05 = 5% • CPAยอมให้ความเสี่ยงจากการตรวจสอบที่วางแผนไว้ (PDR) เกิดขึ้นน้อยลงกว่าเดิม นั่นคือ ต้องรวบรวมหลักฐานการสอบบัญชีให้มากขึ้น เพื่อที่จะให้ความเสี่ยงในการสอบบัญชีที่ยอมรับได้ (AAR) อยู่ในระดับเดิม สวียา ปรารถนาดี
ความสัมพันธ์ของความเสี่ยงกับหลักฐานการลงบัญชีความสัมพันธ์ของความเสี่ยงกับหลักฐานการลงบัญชี สวียา ปรารถนาดี
โอกาสเกิดข้อผิดพลาดที่มีสาระสำคัญโอกาสเกิดข้อผิดพลาดที่มีสาระสำคัญ • การพิจารณาความเสี่ยงในระดับ • บริษัท • หน่วยงาน / แผนก / ส่วนงานในบริษัท • รายการแต่ละรายการในงบการเงิน สวียา ปรารถนาดี
หลักการเลือกให้ได้ตัวอย่างที่ดีหลักการเลือกให้ได้ตัวอย่างที่ดี Throughtout the year Haphazard เลือกอย่างมีระบบ Random Table สวียา ปรารถนาดี
การสอบทานขั้นตอนการสอบบัญชีการสอบทานขั้นตอนการสอบบัญชี • ศึกษาทำความเข้าใจธุรกิจ/อุตสาหกรรมนั้นๆ เพื่อประเมิน IR • ศึกษาและประเมินการควบคุมภายใน เพื่อประเมิน CR • พิจารณา • รายการค้า • เอกสารที่เกี่ยวข้อง • แผนผังการควบคุม • การควบคุมภายในที่สำคัญ • วิธีการทดสอบการควบคุม • วิเคราะห์ DR = AR/ (IR x CR) • วางแนวการตรวจสอบสาระสำคัญ (ST) สวียา ปรารถนาดี
ข้อพิจารณาทั่วไป-การทดสอบสาระสำคัญข้อพิจารณาทั่วไป-การทดสอบสาระสำคัญ • เวลาทดสอบ • ส่วนใหญ่ กระทำ ณ วันสิ้นงวด • อาจกระทำระหว่างงวดก็ได้ (Interim) • ต้นทุนและผลประโยชน์ • วิธีวิเคราะห์เปรียบเทียบ • เป็นเครื่องชี้จุดที่ควรสนเป็นพิเศษ เน้นหนักในทิศทางของการทดสอบสาระสำคัญ • รูปแบบของแนวการสอบบัญชี สวียา ปรารถนาดี
วิธีการตรวจสอบ กระดาษ ทำการอ้างอิง ปัญหา ที่ตรวจพบ ตรวจสอบ โดย/วันที่ 1 วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงและตรวจสอบรายการผิดปกติระหว่างงวดบัญชีปัจจุบันกับงวดก่อนของรายการต่อไปนี้ 1.1สินค้าคงเหลือตามประเภท 1.2อัตราหมุนเวียนของสินค้าคงเหลือ 1.3อัตรากำไรขั้นต้น 1.4สินค้าเสื่อมสภาพหรือล้าสมัย แนวการสอบบัญชี ( Audit Program) ชื่อลูกค้า งวดบัญชี กระดาษทำการแนวการสอบบัญชีสินค้าคงเหลือ วัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบว่า 1)สินค้าคงเหลือณวันสิ้นงวดมีอยู่จริงแสดงไว้ตามปริมาณและมูลค่าที่ถูกต้องและเป็นกรรมสิทธิ์ของกิจการ 2)มูลค่าของสินค้าคงเหลือแสดงตามราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่าและกิจการได้ตั้งค่าเผื่อการลดราคาสำหรับสินค้าคงเหลือเก่าชำรุดล้าสมัยเคลื่อนไหวช้า 3)การแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูลเป็นไปตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป วิธีการตรวจสอบบัญชีสินค้าคงเหลือ สวียา ปรารถนาดี