280 likes | 452 Views
การพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 โดย คณะทำงานข่าวกรอง พยากรณ์โรคและภัยสุขภาพ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี. ชลิต เข็มมาลัย กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี. บทนำ. ประเทศไทยเริ่มพบโรคไข้เลือดออกประปราย
E N D
การพยากรณ์โรคไข้เลือดออกการพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 โดย คณะทำงานข่าวกรอง พยากรณ์โรคและภัยสุขภาพ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี ชลิต เข็มมาลัย กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
บทนำ • ประเทศไทยเริ่มพบโรคไข้เลือดออกประปราย • ตั้งแต่ปี พ.ศ.2492 • พบการระบาดใหญ่ครั้งแรกในประเทศไทย • ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2501 • ในช่วง 50 ปีที่ผ่านมามีการระบาดเพิ่มมากขึ้น • สถานการณ์โรคไข้เลือดออกประเทศไทย • นับตั้งแต่ ปี 2501-2545 • มีแนวโน้มที่สูงขึ้นมาโดยตลอด พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_1
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี • มีพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมด 2 เขตสาธารณสุข • เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4 ประกอบด้วย • จังหวัดราชบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม • เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 5 ประกอบด้วย • จังหวัดสมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ • ทั้งสองเขตเป็นพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออก • อย่างต่อเนื่อง • และติดอยู่ใน 10 อันดับแรกของโรคที่ต้องเฝ้าระวัง พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_2
วัตถุประสงค์ • เพื่ออธิบายลักษณะทางระบาดวิทยา • ของโรคไข้เลือดออก • ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 4 และ 5 • เพื่อคาดการณ์แนวโน้มของโรคไข้เลือดออก • ในปี พ.ศ. 2555 พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_3
วิธีการศึกษา • ศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนา • โดยวิเคราะห์ข้อมูลลักษณะการเกิดโรค • ในลักษณะของบุคคล เวลา สถานที่ • และปัจจัยด้านเชื้อไวรัส • พยากรณ์แนวโน้มของการเกิดโรค • สถิติชั้นสูงแบบอนุกรมเวลา • (Time Series Analysis) พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_4
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา • ข้อมูลผู้ป่วยไข้เลือดออกในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 • จากรายงาน506 ย้อนหลัง 10 ปี • โปรแกรมที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลใช้ข้อมูล • สำเร็จรูปคอมพิวเตอร์ พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_5
ผลการศึกษา พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_6
ลักษณะการเกิดโรคไข้เลือดออกลักษณะการเกิดโรคไข้เลือดออก รูปที่ 1 อัตราป่วยต่อประชากรแสนคนโรคไข้เลือดออกรายจังหวัด เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ปี พ.ศ. 2545 – 2554 พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_7
ตารางที่ 1 10 อันดับอัตราป่วยต่อประชากรแสนคน จำแนกตามเขตตรวจราชการ ของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2550-2554 พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_8
รูปที่ 2 ร้อยละผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกแยกกลุ่มอายุ เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ปี พ.ศ. 2550 – พ.ศ. 2554 พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_9
รูปที่ 3 จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกแยกอาชีพ พื้นที่สาธารณสุขเขต 4,5 พ.ศ. 2550 – พ.ศ. 2554 พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_10
รูปที่ 4 จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายเดือน เปรียบเทียบ Median 5 ปีพื้นที่สาธารณสุขเขต 4,5 (ม.ค.2550 – ก.ค. 2555) พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_11
การพยากรณ์แนวโน้มการเกิดโรคไข้เลือดออกการพยากรณ์แนวโน้มการเกิดโรคไข้เลือดออก ปี 2555 ( Time Series analysis ) พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_14
รูปที่ 7 การพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายเดือน เปรียบเทียบ Median 5 ปี พื้นที่สาธารณสุขเขต 4,5 (ม.ค.2555 – ก.ค. 2555) พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_15
รูปที่ 8 การพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายเดือน เปรียบเทียบ Median 5 ปี จังหวัดเพชรบุรี 4,5 (ม.ค.2555 – ก.ค. 2555) พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_16
รูปที่ 9 การพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายเดือน เปรียบเทียบ Median 5 ปี จังหวัดสมุทรสาคร 4,5 (ม.ค.2555 – ก.ค. 2555) พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_17
รูปที่ 10 การพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายเดือน เปรียบเทียบ Median 5 ปี จังหวัดสมุทรสงคราม 4,5 (ม.ค.2555 – ก.ค. 2555) พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_18
รูปที่ 11 การพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายเดือน เปรียบเทียบ Median 5 ปี จังหวัดราชบุรี 4,5 (ม.ค.2555 – ก.ค. 2555) พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_19
อภิปรายผล • รูปแบบ (Pattern) ของการเกิดโรคในรอบ 10 ปี • ตั้งแต่ปี 2545 – 2554 รูปแบบการระบาด 2 ปีเว้น 1 ปี • ในช่วงปี พ.ศ.2550-2554 พบว่ารูปแบบเป็นแบบ 2 ปีเว้น 2 ปี • ปัจจัยอื่น ๆ มาเกี่ยวข้อง เช่น สภาพภูมิอากาศ ภูมิประเทศ • ที่เปลี่ยนแปลงไป หรือนโยบายที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ • ธรรมชาติของเชื้อโรค พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_20
อภิปรายผล(ต่อ) • รูปแบบการเกิดโรคในปี 2555 – 2556 อาจมีความแตกต่าง • ไปจากเดิมดังนั้นการพยากรณ์โรคไข้เลือดออกโดยวิธี • การวิเคราะห์ทางสถิติโดยใช้อนุกรมเวลา ( Time Series ) • อาจมีความคลาดเคลื่อนไปจากความเป็นจริงได้ • เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4 และ 5 มีอัตราป่วยต่อ • ประชากรแสนคนอยู่ใน 10 อันดับของประเทศเกือบทุกปี • และในปี 2554 และ 2555 ส่วนใหญ่จะพบการระบาดของเชื้อ • ไวรัสทั้งซีโรไทป์ 1, 2 พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_21
อภิปรายผล(ต่อ) • ผลจากการวิเคราะห์ทางสถิติพบว่าจำนวนผู้ป่วยจากการ • พยากรณ์กับผู้ป่วยจริงจะแตกต่างกันมากหรือน้อยผิดปกติ • จะทำให้การพยากรณ์โรคไม่ได้ผลเนื่องจาก • ขาดความครบถ้วนของการรายงานผู้ป่วย • รายงานไม่ทันเวลา • เมื่อพ้นระยะการเฝ้าระวังโรคแล้วการระบาดยังคงมีอย่างต่อเนื่อง • การพยากรณ์โรคเป็นรายเดือนจำนวนพยากรณ์จะใกล้เคียง • กับผู้ป่วยจริง พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_22
ข้อจำกัด • เรื่องการพยากรณ์โรคเป็นเรื่องใหม่สำหรับเจ้าหน้าที่ระบาดวิทยา • และเป็นเรื่องที่เข้าใจได้ยากเจ้าหน้าที่มีพื้นฐานความรู้ด้านสถิติ • อาจยังไม่เพียงพอ • ขาดการนำข้อมูลผู้ป่วยทางด้านอายุ เพศ อาชีพ • มาทำการพยากรณ์โรค • ขาดการนำข้อมูลจากรายงานการสอบสวนโรคในบางประเด็น • เช่น ประวัติการเดินทาง กิจกรรมการสำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลาย • เป็นต้น • จังหวัดไม่มีส่วนร่วมในการทำพยากรณ์โรค พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_23
ข้อเสนอแนะ • ควรมีการติดตามประเมินผลการพยากรณ์โรคไข้เลือดออก • ว่ามีความแม่นยำถูกต้องหรือไม่และควรหาวิธีการพยากรณ์โรค • มาใช้ให้มากขึ้น • ควรมีการจัดอบรมให้กับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานอย่างต่อเนื่อง • ควรมีการนำข้อมูลด้าน อายุ เพศ อาชีพ ประวัติการเดินทาง • กิจกรรมการสำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลาย จะทำการพยากรณ์โรค • มีประสิทธิภาพมากขึ้น • ควรให้จังหวัดมีส่วนร่วมในการทำพยากรณ์โรคอาจจะทำให้ได้ • ข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้อง ทันเวลา มากขึ้น พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_24
มาตรการการป้องกันการระบาดของโรคมาตรการการป้องกันการระบาดของโรค • เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ควรมีการวิเคราะห์ความเสี่ยง • การเกิดโรคของพื้นที่ โดยใช้ข้อมูลโรค และปัจจัยเสี่ยงของ • การเกิดโรคไข้เลือดออก เพื่อนำมาใช้ในการวางแผนป้องกันโรค • ก่อนถึงฤดูกาลระบาด • ผู้บริหารหน่วยงานสาธารณสุขติดตามระบบเฝ้าระวังและเร่งรัด • ให้มีการขยายเครือข่ายการเฝ้าระวังโดยชุมชนเพื่อให้มีการแจ้งข่าว • และรับทราบข่าวได้รวดเร็วเพื่อนำไปสู่การควบคุมโรค • เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ • ที่มีบทบาทหน้าที่ในด้านการป้องกันควบคุมโรค พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_25
มาตรการการป้องกันการระบาดของโรค(ต่อ)มาตรการการป้องกันการระบาดของโรค(ต่อ) • ให้ความรู้และสื่อสารความเสี่ยง เช่น อาการไข้สูงควรรีบมารับ • การรักษาสถานบริการของรัฐ เป็นต้นให้ประชาชนได้รับทราบ • อย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้ประชาชนได้ตระหนัก และให้ความร่วมมือ • ในการป้องกันโรค • เจ้าหน้าที่ระบาดวิทยาควรนำรายงานการสอบสวนโรคมาวิเคราะห์ • จะทำให้ทราบถึงลักษณะการระบาดของโรคเป็นอย่างไร กลุ่มเสี่ยง • ความครอบคลุมของกิจกรรมการควบคุมป้องกันโรค เป็นต้น • พื้นที่ควรนำรายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออกนำเสนอในที่ • ประชุมระดับจังหวัด อำเภอ อปท. พยากรณ์โรคเขต 4 ปี 55_26