670 likes | 801 Views
1. การให้บริการข้อมูลเงินเดือน/เงินบำนาญ ผ่านระบบ e-services. หน่วยเงินเดือน กองคลัง. 1. การให้บริการข้อมูลเงินเดือน/เงินบำนาญ ผ่านระบบ e-services. 1. การขอใบแจ้งยอดเงินเดือน ( payslip )/ หนังสือรับรองเงิน บำนาญ /เงินบำเหน็จรายเดือน 2. การค้นหาเงินโอนสุทธิบุคลากร
E N D
1 การให้บริการข้อมูลเงินเดือน/เงินบำนาญ ผ่านระบบ e-services หน่วยเงินเดือน กองคลัง
1 การให้บริการข้อมูลเงินเดือน/เงินบำนาญ ผ่านระบบ e-services 1. การขอใบแจ้งยอดเงินเดือน(payslip)/หนังสือรับรองเงิน บำนาญ /เงินบำเหน็จรายเดือน 2. การค้นหาเงินโอนสุทธิบุคลากร 3. การตรวจสอบการหักเงินค่าสมาชิก สกสค. 4. การตรวจสอบรายการหักหนี้บุคคลที่สามและ รายรับ-รายจ่ายประจำเดือนของข้าราชการบำนาญ และผู้รับบำเหน็จรายเดือน
1 1. การขอใบแจ้งยอดเงินเดือน(payslip) หนังสือรับรองเงินบำนาญ เงินบำเหน็จรายเดือน
1 1. เข้าเว็บไซต์ www.kku.ac.th 2. เข้าเมนูคลังบริการ
1 3. เลือกเมนู ขอใบรับรองเงินเดือน
1 4. ระบุ “ชื่อ” หรือ “นามสกุล” แล้วค้นหาชื่อหรือสกุล
1 5. คลิกที่ชื่อเพื่อเข้าสู่การกรอกแบบฟอร์ม
1 6. กรอกเบอร์โทรศัพท์,เดือนที่ต้องการ,วัตถุประสงค์การใช้ใบแจ้งยอดเงินเดือน
1 7. คลิก “ยื่นแบบคำขอ”
1 7. แบบฟอร์มคำขอได้ถูกบันทึกลงในฐานข้อมูลแล้ว
1 การดูข้อมูลการขอใบแจ้งยอดเงินเดือน(slip) 1. คลิกเมนู “ขอใบรับรองเงินเดือน”
1 2. คลิกเมนู “ดูข้อมูลการขอหนังสือรับรองรายรับ-รายจ่าย”
1 3. ระบุ “ชื่อ” หรือ “สกุล” แล้วคลิก “Search” เพื่อค้นหา
ใบมอบฉันทะ ใบมอบฉันทะมีความสำคัญในกรณีที่บุคลากรไม่สามารถมารับใบแจ้งยอดด้วยเองได้ อาจมอบฉันทะให้บุคคลอื่นมารับแทน ซึ่งจะใช้เป็นหลักฐานในการรับใบแจ้งยอดเงินเดือน เพื่อป้องกันการนำใบแจ้งยอดเงินเดือนของบุคคลอื่นไปใช้ในการทำธุรกรรมโดยมิชอบ
1 ที่หน้าจอดูข้อมูลการขอใบรับรองรายรับรายจ่าย ให้คลิกที่เมนู “ใบมอบฉันทะ”
2. การค้นหาเงินโอนสุทธิบุคลากร ในระบบ e-services
1 1. คลิกเมนู “ค้นหาเงินโอนบุคลากร”
1 2. กรอกเลขบัญชีธนาคารแล้วคลิก “ค้นหาเลขบัญชีธนาคาร”
1 การตรวจสอบ การหักเงินค่าสมาชิก สกสค. ผ่านเว็บไซต์กองคลัง http://finance.kku.ac.th/
1 1.เข้าไปที่เว็บไซต์ www.kku.ac.th คลิกคำว่า “คลังบริการ”
1 www.kku.ac.th
1 2. คลิกเลือก “ ตรวจสอบการหักเงินสงเคราะห์ศพ ช.พ.ค. / ช.พ.ส ”
1 “ตรวจสอบการหักเงินสงเคราะห์ศพ ช.พ.ค. / ช.พ.ส”
1 3. ให้คลิกเลือก“เดือน และ ปี พ.ศ.” ที่ต้องการตรวจสอบ และกรอก “เลขที่บัตรประจำตัวประชาชน”
1 เลือก “เดือน และ ปี พ.ศ.”
1 “กรอกเลขที่บัตรประจำตัวประชาชน” คลิกคำว่า “ค้นหาเลขที่บัตรประจำตัวประชาชน”
1 4.ปรากฏหน้าจอที่มีข้อมูลการหักเงิน ค่าสมาชิก สกสค.ของแต่ละบุคคล
โดยมีรายละเอียด ดังนี้ • ลำดับที่การหัก • วันที่นำส่งเงิน • ชื่อ-สกุล • เลขสมาชิก ช.พ.ค. เลขสมาชิก ช.พ.ส. • จำนวนเงินค่าสมาชิกที่หักในแต่ละเดือนของ ช.พ.ค. และ ช.พ.ส. • ประเภทบุคลากร
1 การตรวจสอบ รายการหักหนี้บุคคลที่สาม และ รายรับ-รายจ่ายประจำเดือน ข้าราชการบำนาญและผู้รับบำเหน็จรายเดือน ทางเว็บไซต์ www.kku.ac.th
1 1.เข้าไปที่เว็บไซต์ www.kku.ac.th คลิกคำว่า “คลังบริการ”
1 www.kku.ac.th
1 2.เลือกคลิก คำว่า “ค้นหารายรับ-รายจ่าย-เงินบำนาญโอนสุทธิ”
1 4.กรอกเลขที่บัญชีธนาคาร ที่รับเงินบำนาญ/บำเหน็จรายเดือน และ ระบุเดือน/ปีที่ต้องการ แล้วคลิกปุ่ม“ค้นหาเลขที่บัญชีธนาคาร”
1 • 4.จะปรากฏรายการ ดังต่อไปนี้ • รายรับ และ รายจ่าย/หนี้บุคคลที่สาม • โอนสุทธิ • โดยรายการที่หักหนี้ไม่ได้ จะปรากฎคำว่า • “หักไม่ได้หรือติดต่อชำระเงินเอง” • และต้องดำเนินการติดต่อเจ้าหนี้ • เพื่อชำระหนี้ด้วยตนเอง
1 “หักไม่ได้หรือติดต่อชำระเงินเอง” นายมอขอ
1 วิธีการคำนวณหัก เงินสะสม และ เงินสมทบประกันสังคม
1 จำนวนเงินที่ใช้เป็นฐานในการคำนวณเงินสมทบ 1.ผู้ประกันตนตามมาตรา 33 1.1 ที่มา จากค่าจ้างของผู้ประกันตน กฎกระทรวง ฉบับที่ 7(พ.ศ.2538) ลงวันที่ 30 มีนาคม 2538 ออกโดยอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ.2533 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติประกันสังคม(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2537 มาตรา 46 วรรคสี่
1 กำหนดค่าจ้างที่ใช้เป็นฐานในการคำนวณเงินสมทบ กองทุนประกันสังคมของผู้ประกันตน ตามมาตรา 33 แต่ละคนเดือนละไม่ต่ำ 1,650 บาท และ ไม่เกินเดือนละ 15,000 บาท
1 พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ.2533 มาตรา 5 กำหนดนิยามของคำว่า “ค่าจ้าง” หมายถึง 1.เงิน 2.นายจ้างเป็นผู้จ่าย 3.มีวัตถุประสงค์เพื่อตอบแทนการทำงานของลูกจ้างในวันและเวลาทำงานปกติรวมทั้งวันหยุดและวันลาที่ลูกจ้างไม่ได้ทำงานด้วย ทั้งนี้ ไม่ว่านายจ้างจะกำหนด คำนวณ หรือจ่ายในลักษณะใดหรือโดยวิธีการใด และไม่ว่าจะเรียกชื่อว่าอย่างไร
1 1.2 การคำนวณเงินสมทบที่มีเศษสตางค์ มาตรา 46 วรรคสี่ กำหนดว่า ในการคำนวณเงินสมทบของผู้ประกันตนแต่ละคน ถ้ามีเศษสตางค์ตั้งแต่ 50 สตางค์ขึ้นไปให้นับเป็นหนึ่งบาท ถ้าน้อยกว่านั้นให้ปัดทิ้ง (กองเงินสมทบ สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม สปส. 5/2545 (กส.3) กันยายน 2545)
1 ตัวอย่างการคำนวณเงินสะสมและสมทบ ในกรณี สำนักงานกองทุนประกันสังคม กำหนดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม งวดค่าจ้างเดือนกรกฎาคม 2555-ธันวาคม 2555ในอัตราฝ่ายละ ร้อยละ 4 ของค่าจ้าง ให้คำนวณ ดังนี้
1 กรณี สมทบร้อยละ 4 1.เดือนละไม่ต่ำกว่า 1,650 บาท 1650 x 4%=66 บาท (ถ้าคำนวณแล้วไม่ถึง 66 บาท ให้ส่ง 66 บาท) 2.ไม่เกินเดือนละ 15,000 บาท 15000 x4%=600 บาท (ถ้าคำนวณแล้วเกิน 600 บาท ให้ส่งเพียง 66 บาท)
1 กรณี สมทบร้อยละ 5 1.เดือนละไม่ต่ำกว่า 1,650 บาท 1650 x 5%=83 บาท (คำนวณได้ 82.5 ให้ปัดขึ้น) 2.ไม่เกินเดือนละ 15,000 บาท 15000 x 5%=750 บาท
1 การคำนวณเงินสะสมและสมทบประกันสังคม 1.กรณี บรรจุใหม่ ให้คำนวณเงินสะสมและสมทบ โดยจะต้องคำนึงถึง ขั้นต่ำ และขั้นสูง ของอัตราเงินประกันสังคม 2.กรณี ปรับวุฒิ/เปลี่ยนตำแหน่ง ให้คำนวณเงินสะสมและสมทบ โดยจะต้องคำนวณเพื่อหักส่งประกันสังคม ตามที่คำนวณได้จริง
1 ตัวอย่าง การคำนวณเงินสะสมและสมทบประกันสังคม 1.กรณี บรรจุใหม่ นายดินแดงมีคำสั่งบรรจุและแต่งตั้ง โดยมีระยะเวลาการจ้างตั้งแต่ 26 เมษายน 2555 อัตราค่าจ้าง 9,140 บาท ให้คำนวณ ดังนี้
1 ตัวอย่าง การคำนวณเงินสะสมและสมทบประกันสังคม(ต่อ) เงินเดือน 9,140 บาท ตั้งแต่วันที่ 26-30 เม.ย.55 คิดเป็น 5 วัน ดังนั้นจะเบิกเงินเดือนในเดือนเมษายน 55 = 9140/30 x 5=1523.33 บาท
1 ตัวอย่าง การคำนวณเงินสะสมและสมทบประกันสังคม(ต่อ) นำเงินเดือนมาคำนวณ เพื่อหาจำนวนเงินสมทบ จะได้ 1523.33 x 3%= 45.70 บาท ปัดขึ้นเป็น 46 บาท (การคำนวณเงินสมทบที่มีเศษสตางค์) แต่ประกันสังคมขั้นต่ำคือ 50 บาท ดังนั้น จะต้องส่งเงินสมทบ จำนวน 50 บาท