390 likes | 666 Views
Derivatives SET50 Index Futures. Jessada Wattanavanitchkaorn Derivatives Business ext 1046-1049. อนุพันธ์ (Derivatives). อนุพันธ์ (Derivatives) คือข้อตกลง หรือสัญญาที่มีลักษณะ 3 ประการคือ 1. มีมูลค่าขึ้นอยู่กับสิ่งที่อนุพันธ์นั้นอ้างอิงอยู่
E N D
Derivatives SET50 Index Futures Jessada Wattanavanitchkaorn Derivatives Business ext 1046-1049
อนุพันธ์ (Derivatives) อนุพันธ์ (Derivatives) คือข้อตกลง หรือสัญญาที่มีลักษณะ 3 ประการคือ 1. มีมูลค่าขึ้นอยู่กับสิ่งที่อนุพันธ์นั้นอ้างอิงอยู่ 2. มีอายุจำกัด 3. เป็นLeverage product ใช้เงินลงทุนน้อย Exposure สูงดังนั้นอาจได้รับผลตอบแทนสูง และติดลบสูง
SET50 Index Futures คือ • อนุพันธ์ที่มีสินทรัพย์อ้างอิง คือ ดัชนี SET50 Indexดังนั้นมูลค่าของ SET50 Index Futuresจะขึ้นอยู่กับระดับดัชนี SET50ที่เวลา ณ ขณะใดขณะหนึ่ง • มีอายุจำกัด เช่น มีสัญญาที่หมดอายุลงในสิ้นเดือน 3,6,9 และ 12 • รับรู้ผลกำไร/ขาดทุน ทุกสิ้นวัน จากการ Mark-to-Marketโดยใช้ Settlement Price • มีผลตอบแทนสูงและความเสี่ยงสูง เพราะใช้เงินลงทุนน้อย
ตัวคูณดัชนี ดัชนี SET50 1จุด มีมูลค่า1,000 บาท ตัวอย่าง ผู้ลงทุนซื้อ SET 50 index Futures ที่ราคา 500 จุด ดังนั้นมูลค้าสัญญาที่ผู้ลงทุนซื้อมาเท่ากับ 500 x 1000 = 500,000 บาท ต่อมา ผู้ลงทุนได้ขาย SET 50 index Futures ที่ราคา 520 จุดดังนั้นมูลค้าสัญญาที่ผู้ลงทุนขายไปเท่ากับ 520 x 1000 = 520,000 บาท ผู้ลงทุนมีผลกำไรจากการซื้อขายสัญญา Futures เท่ากับ (520,000-500,000 บาท)= 20,000 หรือ 20 จุด x 1,000= 20,000 บาท
Price Limit ช่วงของการเปลี่ยนแปลงสูงสุดในแต่ละวัน (price limit) ราคา futures ที่เสนอซื้อขายกันจะเพิ่มขึ้น หรือลดลง ได้ไม่เกิน 30% ของราคาที่สำนักหักบัญชีประกาศในวันก่อนหน้า -10%,-20%,-30% ราคาที่ใช้ชำระเมื่อวาน +30% 350 500 650
Month Code January F February G March H April J May K June M Series name July N August Q September U October V November X S50H07 = SET50MAR07 December Z ชื่อย่อของ SET50 Index Futures S50H06 = SET50MAR06 S50M06 = SET50JUN06 S50U06 = SET50SEP06 S50Z06 = SET50DEC06
วันซื้อขายวันสุดท้าย วันทำการสุดท้ายของเดือน วันซื้อขายวันสุดท้าย • วันซื้อขายวันสุดท้าย (Last Trading Day)คือ“วันทำการก่อนหน้าวันทำการสุดท้ายของเดือน”
ปัจจุบัน วันซื้อขายวันสุดท้าย ของสัญญา 1. ราคาที่ใช้ชำระราคาประจำวัน (Daily Settlement Price) ตกลงซื้อขาย 2. ราคาที่ใช้ชำระราคาวันสุดท้าย (Final Settlement Price) Settlement Price 1. ราคาที่ใช้ชำระราคาประจำวัน (Daily Settlement Price) เป็นราคาที่ตลาดอนุพันธ์เผยแพร่ทุกสิ้นวันเพื่อคำนวณกำไรขาดทุน 2. ราคาที่ใช้ชำระราคาวันสุดท้าย (Final Settlement Price) คือ ราคาที่ใช้คำนวณกำไรขาดทุนในวันสุดท้ายของสัญญา เท่ากับค่าเฉลี่ยของดัชนี SET50 Index ในวันซื้อขายวันสุดท้าย เฉลี่ยถึงทศนิยมตำแหน่งที่สองรายนาที ช่วง 30 นาทีสุดท้ายของการซื้อขาย
Position Limit จำนวนสัญญาที่ผู้ลงทุนสามารถมีสถานะได้ (Positionlimit) ตลาดอนุพันธ์กำหนด สถานะสุทธิของผู้ลงทุนใน SET50 index Futures ดังนี้ - สัญญาสุทธิที่ครบกำหนดใน แต่ละเดือน ไม่เกิน 10,000 สัญญา - สัญญาสุทธิของืทุกเดือนรวมกัน ต้องไม่เกิน 10,000 สัญญา
หลักประกัน(Margin) Outright Trading Spread Trading ชนิดของเงินประกัน Initial Margin 50,000 12,500 (เงินประกันเริ่มต้น) Maintenance Margin 35,000 8,750 (เงินประกันรักษาสภาพ)
การนับ Position Limit สถานะสุทธิของทุกเดือนรวมกันเท่ากับ (13,000-1,000)-2,000= 10,000ซึ่งไม่เกินPosition Limitแต่ Futures เดือนมิถุนายน เกิน 10,000สัญญา เกินPosition Limit สถานะสุทธิในแต่ละเดือน =9,000 และ2,000สัญญาสถานะสุทธิของทุกเดือนรวมกันเท่ากับ 9,000+2,000=11,000เกิน PositionLimit สถานะสุทธิเท่ากับ =9,000-2,000สัญญาซึ่งไม่เกิน PositionLimit
คำศัพท์ในการซื้อขาย ผู้ซื้อ (Buyer)เรียกว่า “มีฐานะซื้อ”(Long Position) ผู้ขาย (Seller)เรียกว่า “มีฐานะขาย”(Short Position) สินค้าที่ตกลงซื้อขายกัน เรียกว่า “สินค้าอ้างอิง”(Underlying Asset) ราคาสินค้าที่ตกลงซื้อขายกัน เรียกว่า “ราคาฟิวเจอร์ส” (Futures Price) “ผู้ซื้อ” จะได้ “กำไร” เมื่อ ราคาสินทรัพย์อ้างอิง “เพิ่มขึ้น” “ผู้ขาย” จะได้ “กำไร” เมื่อ ราคาสินทรัพย์อ้างอิง “ลดลง”
การล้างภาระผูกพัน • สัญญาฟิวเจอร์สสามารถปิดสัญญา หรือเรียกว่า Offset ได้ โดยไม่ต้องรอให้สัญญาหมดอายุ • ผู้ซื้อ สามารถ ขาย เพื่อปิดสัญญาที่ตนเคยซื้อไว้ • ผู้ขาย สามารถ ซื้อ เพื่อปิดสัญญาที่ตนเคยขายไว้ • ทั้งนี้ต้องเป็นการซื้อขายฟิวเจอร์สที่เป็นสัญญาเดียวกันคือครบกำหนดส่งมอบเดือนเดียวกัน
ประโยชน์จาก SET50 Index Futures • เป็นการลงทุนที่มีสถานะเปรียบเสมือนการถือครองตระกร้าหุ้นซึ่งเป็นการกระจายความเสี่ยงในหุ้นใหญ่ 50 ตัวในหลากหลายอุตสาหกรรม และเป็นหุ้น 50 ตัวที่มีสภาพคล่องสูง • สามารถกำหนดทิศทางการลงทุนในเวลาหุ้นขาขึ้นและหุ้นขาลงได้โดยสะดวก • มีกำลังขยายของอัตราผลตอบแทน (Leverage) เนื่องจากใช้เงินลงทุนที่วางเป็นหลักประกันน้อย • ใช้ประโยชน์ในการบริหารความเสี่ยง (Hedging, Risk Management) • จ่ายค่าธรรมเนียมในการซื้อขายต่ำกว่าซื้อขายหุ้น
กลยุทธ์ในการซื้อขาย Futures • การซื้อขายเพื่อลดความเสี่ยงให้กับพอร์ตที่ลงทุนในหุ้น (Hedging) • ใช้ฟิวเจอร์เพื่อลดความเสี่ยงที่ตนเองมีอยู่ • การเก็งกำไร (Speculate) ใช้ฟิวเจอร์สเพื่อเก็งกำไร • ในทิศทางของราคา (Direction)/ในส่วนต่างของราคา (Spread) • การค้ากำไร (Arbitrage)ใช้ฟิวเจอร์สเพื่อค้ากำไรโดยปราศจากความเสี่ยง
การถัวความเสี่ยง (Cross Hedge) • จากนั้นหาจำนวนสัญญาที่ใช้ถัวความเสี่ยง (N*) โดย N* =จำนวนสัญญาที่เหมาะสมในการใช้ถัวความเสี่ยง NA =มูลค่าที่ต้องการถัวความเสี่ยง QF =มูลค่าของสินค้าอ้างอิงสำหรับฟิวเจอร์สหนึ่งฉบับ N* = -h*NA /QF
ตัวอย่างการถัวความเสี่ยง(Cross Hedge) • ราคา PTT ตกจาก 222 มาที่ 206 ส่วน SET50 Index Futures เดือน ธ.ค. ตกจาก 463 มาอยู่ที่ 443.1(PTT มีค่า Beta ประมาณ 1.1) • ถ้ามีหุ้น PTT อยู่ 10,000 หุ้นราคา 222 บาท มูลค่า 2,220,000 บาท เมื่อราคา 206 บาท มูลค่า 2,060,000 บาท ขาดทุน 160,000 บาท • ถ้าเรามีการถัวความเสี่ยงโดยการ Short SET 50 Index Futures ที่ 463 จำนวน 5 สัญญาจะมีผลอย่างไร
ตัวอย่างการถัวความเสี่ยง(Cross Hedge) • ที่ราคา 443.1 เราจะได้กำไรจากการ Short สัญญาฟิวเจอร์สเท่ากับ (463-443.1)*1,000*5 = 99,500 บาท • ดังนั้นมูลค่าของพอร์ตจะเท่ากับ 2,220,000 – 160,000 + 99,500 = 2,159,500บาท มูลค่าของพอร์ตเพียงลดลง 60,500 บาท
สามารถสร้างผลตอบแทนได้ทั้งขาขึ้นและขาลงโดยใช้เงินไม่มากสามารถสร้างผลตอบแทนได้ทั้งขาขึ้นและขาลงโดยใช้เงินไม่มาก • การเก็งกำไรทิศทางDirectional Trading (Outright trading)คือ การซื้อหรือขาย seriesใด series หนึ่ง • เก็งกำไรส่วนต่าง (Spread) Spread trading คือการซื้อขายแบบ Calendar Spreadคือการซื้อหรือขาย 2 seriesพร้อมกัน เช่น ซื้อ S50M07S50U07หมายถึงการซื้อ Seriesใกล้และขาย Seriesไกล
การเก็งกำไรทิศทางโดยใช้ส่วนต่าง (Spread) • Settlement Price ของวันที่ 3 ต.ค. 2549 • S50Z06: 464.4 S50H07: 465.0 การคำนวณ Spread = ราคาเดือนไกล – ราคาเดือนใกล้ • ขาย S50Z06 1 สัญญา และ ซื้อ S50H07 1 สัญญา ส่วนต่างเท่ากับ 0.60(465-464.4) • ราคา ณ ตลาดปิด • S50Z06: 446.0 S50H07: 451.20 • ส่วนต่างเท่ากับ 5.2
กำไรขาดทุนจากการซื้อขายกำไรขาดทุนจากการซื้อขาย สามารถคิดได้ 2 วิธี ซึ่งผลลัพธ์ได้เท่ากัน • กำไรS50Z06 เท่ากับ 18,400 บาท [(464.4 – 446) x 1,000] • ขาดทุนS50H06 เท่ากับ 13,800 บาท [(451.2– 465)] x 1,000] • รวมขาดทุน 4,600 บาทต่อสัญญา • คิดกำไร ขาดทุน แยกเป็นรายสัญญา • คิดกำไร ขาดทุน ด้วยค่า Spread กำไร/ขาดทุน (spread ตอนเปิดสัญญา –spread ตอนปิดสัญญา)x1000 ขาดทุนจาก Spread trading เท่ากับ (5.2-(0.6))x1000 = 4,600 บาท/สัญญา
สรุปกลยุทธ์การเก็งกำไรบนSpreadสรุปกลยุทธ์การเก็งกำไรบนSpread
แนวคิดในการกำหนดราคาFuturesแนวคิดในการกำหนดราคาFutures Futures Price = S0 + Cary Cost – Carry Return = S0 + Net Carry Cost = S0 + NCC Futures Price = S0 + interest rate - Dividend yield “Cost-of-Carry Relationship หรือ ความสัมพันธ์ของต้นทุนการถือครอง”
ตัวอย่างการคำนวณราคาFuturesตัวอย่างการคำนวณราคาFutures ปัจจุบัน SET50Indexอยู่ที่ 400จุด อัตราดอกเบี้ยเท่ากับ 6%ต่อปี และหุ้นในSET50มีอัตราการจ่ายปันผลเฉลี่ย 3% ต่อปี • หากราคาที่เหมาะของฟิวเจอร์สที่มีอายุคงเหลือ 3 และ 6 เดือน • ราคา SET50 Index Futuresที่ครบกำหนดคงเหลือ 3 เดือน • = 400 + (400 x 6% x 0.25) –(400 x 3% x 0.25) • ราคา SET50 Index Futuresที่ครบกำหนดคงเหลือ 6 เดือน • = 400 + (400 x 6% x 0.5) –(400 x 3% x 0.5)
กลยุทธ์การลงทุนโดยพิจารณาจากOpen interest
กลยุทธ์การลงทุนโดยพิจารณาจากOpen interest
Open Interest & Volume Open Interest A B C D Volume 0 0 Open buy 5 contract Open Sell 5 contract 10 5 Open Sell 1 contract Close buy 3 contract Open Sell 2 contract 15 5 Close buy 1 contract Close Sell 1 contract 17 4 Open buy 4 contract Open Sell 2 contract Open Sell 2 contract 0
ขั้นตอนการซื้อขาย 1.ออเดอร์ผ่านโบรกเกอร์ • ลูกค้าทั่วไปต้องวางเงินประกันขั้นต้น • ก่อนส่งคำสั่งซื้อขาย 2.สรุปกำไรขาดทุนทุกวัน จาก Broker (Daily Mark-to-market) เงินในบัญชี จะเพิ่มลด ตาม กำไร ขาดทุน ที่เกิดขึ้น 3. วางเพิ่ม หรือ ถอนออก เงินประกัน วางเงินเพิ่มกรณีเงินประกัน ลดจนต่ำกว่าที่กำหนด 4. หมั่นตรวจสอบสถานะ เพื่อประเมินและตัดสินใจ ปรับเปลี่ยนสถานะของตนเอง
ออเดอร์ ผ่านโบรกฯ สรุปกำไร ขาดทุนทุกวัน วางเพิ่ม ถอนออก เงินประกัน หมั่นตรวจสอบสถานะ 1. ออเดอร์ผ่านโบรกเกอร์ • เปิดบัญชีกับโบรกเกอร์ • วางเงินประกันขั้นต้น (Initial Margin) ตามระดับที่โบรกเกอร์กำหนดไว้ • สั่งซื้อขายผ่านโบรกเกอร์ของตลาดอนุพันธ์ ระบุคำสั่ง • ต้องการ “จะซื้อ” หรือ “จะขาย” • ต้องการซื้อขาย “ฟิวเจอร์สของสัญญาเดือนใด”? • ต้องการซื้อขายที่ “ราคา” เท่าไร? • ต้องการซื้อขาย “จำนวน”กี่สัญญา? • ระบุประเภทของคำสั่งซื้อขาย เช่น FOK, FAK & etc.
ประเภทคำสั่งซื้อขาย Limited Oder Market Order Hidden Order (Published Volume) Combination Order เงื่อนไขคำสั่งซื้อขาย Day Fill or Kill (FOK) Fill and Kill (FAK) Good till Date Good till Expiration Stop Limited Order Stop Order ประเภทเงื่อนไขคำสั่งซื้อขาย
ออเดอร์ ผ่านโบรกฯ สรุปกำไร ขาดทุนทุกวัน วางเพิ่ม ถอนออก เงินประกัน หมั่นตรวจสอบสถานะ 2. สรุปกำไรขาดทุนทุกวัน • ในทุกๆ สิ้นวัน ตลาดอนุพันธ์ จะประกาศ“ราคาที่ใช้ชำระราคาประจำวัน” (Daily Settlement Price) ในแต่ละวันออกมา • โบรกเกอร์จะใช้ “ราคาที่ใช้ชำระราคาประจำวัน” คำนวณ กำไร/ขาดทุนให้ลูกค้าแต่ละราย เรียกว่า การ Mark-to Market โบรกเกอร์จะโอนเงิน เข้าบัญชีให้ ได้กำไร >>> โบรกเกอร์จะหักเงิน ออกจากบัญชี ขาดทุน >>>
ออเดอร์ ผ่านโบรกฯ สรุปกำไร ขาดทุนทุกวัน วางเพิ่ม ถอนออก เงินประกัน หมั่นตรวจสอบสถานะ Mark-to-Market • ตัวอย่างปัจจุบัน คือวันที่ 1 กันยายน 2548 ผู้ลงทุนซื้อฟิวเจอร์สที่ครบกำหนดเดือน ธันวาคม 2548 จำนวน 1 สัญญา ที่ราคา 490 จุด • ถ้าโบรกเกอร์กำหนดว่าอัตราเงินประกันขั้นต้นคือ 50,000 บาท และอัตราเงินประกันขั้นต่ำคือ 35,000 บาท ได้กำไร 2,000 ยอดในบัญชีเพิ่มเป็น 50,000 + 2,000 = 52,000 บาท ขาดทุน7,000 ยอดในบัญชีลดลงเหลือ 52,000 - 7,000 = 45,000 บาท
ออเดอร์ ผ่านโบรกฯ สรุปกำไร ขาดทุนทุกวัน วางเพิ่ม ถอนออก เงินประกัน หมั่นตรวจสอบสถานะ หลักประกันขั้นต้น (Initial margin) หลักประกันขั้นต่ำ (Maintenance margin) 3. วางเพิ่ม/ถอนออกเงินประกัน • หลังจากซื้อ หรือ ขายแล้ว โบรกเกอร์จะคำนวณกำไรขาดทุนให้ผู้ลงทุนทุกวันทำการ ทำให้เงินในบัญชีของผู้ลงทุนเคลื่อนไหวเพิ่มขึ้น ลดลง ตามราคาฟิวเจอร์สที่เปลี่ยนแปลงไปในแต่ละวัน • หากขาดทุนจนทำให้เงินประกันในบัญชีลดลงต่ำกว่าระดับ“เงินประกันขั้นต่ำ” (Maintenance Margin) • ผู้ลงทุนจะต้องนำเงินไปวางเพิ่มให้ยอดเงินประกันในบัญชีกลับมาอยู่ที่ ระดับ “เงินประกันขั้นต้น” อีกครั้งหนึ่ง • หากกำไร ผู้ลงทุนสามารถถอนเงินส่วนที่เกินหลักประกันขั้นต้นออกไปได้
ออเดอร์ ผ่านโบรกฯ สรุปกำไร ขาดทุนทุกวัน วางเพิ่ม ถอนออก เงินประกัน หมั่นตรวจสอบสถานะ 3. วางเพิ่ม/ถอนออกเงินประกัน (ต่อ) • จากตัวอย่างเดิม ถ้าในวันที่สามของการซื้อขาย ผู้ลงทุนขาดทุนจนทำให้ระดับเงินประกันในบัญชีลดลงต่ำกว่าระดับ เงินประกันขั้นต่ำ ต่ำกว่า 35,000 หลักประกันขั้นต้น 50,000 ต้องวางเงินเพิ่มให้กลับไปที่ หลักประกันขั้นต้น 50,000 – 34,000 = 16,000 หลักประกันขั้นต่ำ 35,000 ยอดเงินในบัญชี 34,000
ออเดอร์ ผ่านโบรกฯ สรุปกำไร ขาดทุนทุกวัน วางเพิ่ม ถอนออก เงินประกัน หมั่นตรวจสอบสถานะ 4. หมั่นตรวจสอบสถานะ สามารถปิดสถานะโดย ขายฟิวเจอร์ส มีสถานะซื้อ >>> มีสถานะขาย ซื้อฟิวเจอร์ส >>> ทั้งนี้ ต้องเป็นสัญญาฟิวเจอร์สของเดือนเดียวกัน จึงจะเรียกว่าการปิดสถานะ โดยไม่ต้องรอให้สัญญาครบกำหนด
ออเดอร์ ผ่านโบรกฯ สรุปกำไร ขาดทุนทุกวัน วางเพิ่ม ถอนออก เงินประกัน หมั่นตรวจสอบสถานะ วันแรก ครบกำหนด ชำระกำไร ขาดทุน ทุกวัน สัญญาหมดอายุลง ตกลง ซื้อ หรือ ขาย ฟิวเจอร์ส 4.2 ถือสัญญาจนครบกำหนด • หากผู้ลงทุนถือสัญญา ไปจนครบกำหนด • จะมีการคำนวณกำไรขาดทุนทุกวันตามปกติ จนกระทั่งสัญญาครบกำหนด • ผู้ลงทุนจะได้รับเงินคืนเท่ากับ เงินคงเหลือในบัญชี
การบริหารความเสี่ยง • การตั้ง Zero Equityคือ การส่งคำสั่งซื้อขายเมื่อลูกค้าถูกเรียกหลักประกัน เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากการที่ตลาดผันผวน • การตั้ง Force Closeคือ การส่งคำสั่งเพื่อปิดสถานะคำสั่งของลูกค้า เมื่อลูกค้าถูกเรียกให้วางหลักประกันเพิ่มภายในวันที่เรียกหลักประกัน หากลูกค้าไม่นำหลักประกันมาวางภายในเวลา 15.30น.ในวันที่ถูกเรียกนั้น ในวันทำการถัดไป ภายในเวลา 1 ชั่วโมงจะต้องทำการปิดสถานะของลูกค้าเพื่อให้หลักประกันผันแปรเท่ากับหลักประกันเริ่มต้น • กรณีลูกค้าไม่ได้ชำระหลักประกัน ทางบริษัทขอสงวนสิทธิ์ในการไม่ให้ส่งคำสั่งที่ทำให้เพิ่มสถานะ