1 / 26

การดำเนินการของศูนย์ oscc

ศูนย์ช่วยเหลือเด็กและสตรีที่ถูกกระทำรุนแรง One Stop Crisis Center ( OSCC ) โรงพยาบาลปทุมธานี กระทรวงสาธารณสุข. การดำเนินการของศูนย์ oscc. เริ่มเปิดดำเนินการ ตั้งแต่ 27 กันยายน 2545 สถานที่ปฏิบัติงาน ฝ่ายสวัสดิการสังคม

Download Presentation

การดำเนินการของศูนย์ oscc

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ศูนย์ช่วยเหลือเด็กและสตรีที่ถูกกระทำรุนแรงOne Stop Crisis Center (OSCC)โรงพยาบาลปทุมธานี กระทรวงสาธารณสุข

  2. การดำเนินการของศูนย์ oscc • เริ่มเปิดดำเนินการตั้งแต่ 27 กันยายน 2545 • สถานที่ปฏิบัติงานฝ่ายสวัสดิการสังคม • หน่วยประสานงานภายในกลุ่มงานอุบัติเหตุฉุกเฉิน หอผู้ป่วย IPD/OPD เวชระเบียน กลุ่มงานจิตเวชและหน่วยงานอื่นๆ • ให้บริการ 24ชั่วโมง ในเวลาราชการฝ่ายสวัสดิการสังคม นอกเวลาราชการกลุ่มงานอุบัติเหตุและเวชศาสตร์ฉุกเฉิน • กรณีฉุกเฉิน แจ้ง 1669 มีรถ EMS ไปรับผู้ป่วยเหมือนกรณีอุบัติเหตุ

  3. โครงสร้างศูนย์OSCC ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเป็นประธานที่ปรึกษา คณะกรรมการดำเนินงานประกอบด้วย สูติ-นรีแพทย์ นพ.บุญรักษ์ วิริยะโชค ประธาน ศัลยแพทย์/หัวหน้างานนิติเวช นพ.ปรัชญา โชติยะ รองประธาน จิตแพทย์ นพ.นิรันดร์ วิเชียรทอง กุมารแพทย์ พญ.ศศิรร จันทรทิน พยาบาลหัวหน้าแผนกต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง นักจิตวิทยา/นักสังคมสงเคราะห์

  4. ทีมงานสหวิชาชีพศูนย์ช่วยเหลือเด็กและสตรี(OSCC)ทีมงานสหวิชาชีพศูนย์ช่วยเหลือเด็กและสตรี(OSCC)

  5. ขอบเขตการให้บริการ เด็ก สตรีและผู้ประสบความรุนแรงในครอบครัว 4 ด้านคือ • ด้านร่างกาย • ด้านเพศ • ด้านจิตใจ • ด้านการถูกละเลยทอดทิ้ง (Neglect)

  6. แนวทางการดำเนินการช่วยเหลือแนวทางการดำเนินการช่วยเหลือ • จัดบริการแบบ One Stop Service Centerโดยให้บริการด้านการแพทย์/ การรักษาด้านจิตใจ ด้านสวัสดิการสังคมและประสานกระบวนการยุติธรรม • ผสมผสานหรือปรับให้เข้าสู่งานที่ปฏิบัติเป็นประจำ • รับแจ้งเหตุรับรายงานเหตุเด็กและสตรีที่ถูกทารุณกรรม • เน้นการทำงานเป็นทีมสหวิชาชีพ (Multi-disciplinary Team) • ประเมินสภาพปัญหาและความต้องการช่วยเหลือของเด็กและครอบครัว • ประสานงานส่งต่อให้ผู้ป่วยได้รับการช่วยเหลือครบวงจร • ติดตามประเมินผลการช่วยเหลือเฉพาะรายที่จำเป็น

  7. บทบาทหน้าที่ของบุคลากรบทบาทหน้าที่ของบุคลากร ให้ความสำคัญกับการทำงานในลักษณะสหสาขาวิชาชีพ จัดอบรมเพื่อ ให้ได้รับความรู้ ความเข้าใจ วิธีปฏิบัติที่ถูกต้อง เพื่อคัดกรองผู้ป่วย เด็ก สตรีและผู้ประสบปัญหาความรุนแรงในครอบครัวด้านต่างๆ เช่น • ทักษะในการสัมภาษณ์และหาข้อเท็จจริง • การตรวจพิสูจน์ทราบ การทารุณกรรมด้านต่างๆ • การขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  8. บทบาทหน้าที่ของแพทย์ที่ดูแลรักษาผู้ป่วยบทบาทหน้าที่ของแพทย์ที่ดูแลรักษาผู้ป่วย • รับรายงานเรื่องจากพยาบาล/เจ้าหน้าที่ศูนย์OSCC • ทำการสัมภาษณ์เพื่อตรวจร่างกายและหาข้อเท็จจริงเพิ่มเติม • บันทึกข้อมูลในส่วนของแพทย์ บันทึกข้อมูลต่างๆที่ตรวจพบ • ให้การรักษาการบาดเจ็บทางร่างกายและปรึกษาแพทย์เฉพาะทางตามความจำเป็นของผู้ป่วยแต่ละราย • ประเมินความเสี่ยงต่อการถูกกระทำซ้ำ ถ้ามีความเสี่ยงถูกกระทำซ้ำอาจต้องแยกผู้ป่วยออกจากครอบครัวโดยการ Admitไว้ก่อน

  9. บทบาทหน้าที่ของบุคลากรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง • เวชระเบียนเก็บทะเบียนประวัติผู้ป่วยแยกต่างหากรักษาความลับข้อมูลส่วน Rape/ผู้ที่ถูกกระทำรุนแรง • พยาบาลประจำOPD คัดกรองว่าเป็นผู้ป่วยถูกทำร้าย/ทารุณกรรมหรือไม่ • กรณีเป็นผู้ป่วยถูกทำร้ายรายงานมาที่ศูนย์ OSCC โดยเร็ว • ประสานงานด้านการตรวจร่างกายของแพทย์และการตรวจห้องปฏิบัติการ

  10. บทบาทหน้าที่ของบุคลากรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง (ต่อ) • พยาบาลประจำแผนกอุบัติเหตุฉุกเฉิน คัดกรองว่าเป็นผู้ป่วยถูกทารุณกรรมหรือไม่ • ในเวลาราชการรายงานศูนย์ OSCC • นอกเวลาราชการ แจ้งแพทย์เวรและกรอกแบบฟอร์มใบรายงานและส่งมายังศูนย์ OSCCในเวลาราชการถัดไป • กรณีมีความจำเป็นเร่งด่วนอาจแจ้งพนักงานสอบสวนในพื้นที่ • กรณีเป็นเด็กหากมีความเสี่ยงต่อการถูกทำร้ายซ้ำหรือเสี่ยงต่อความปลอดภัยให้ Admitไว้ก่อนแจ้งแพทย์เวรทราบและรายงานศูนย์OSCCโดยเร็ว

  11. บทบาทหน้าที่ของบุคลากรประจำศูนย์OSCCบทบาทหน้าที่ของบุคลากรประจำศูนย์OSCC • รับแจ้งรายงานเหตุทั้งหมดในเวลาราชการ/นอกเวลาราชการ • สัมภาษณ์บันทึกข้อเท็จจริงของผู้ป่วย/ครอบครัว/ผู้เกี่ยวข้องหาข้อมูลเพิ่มเติม • ประเมินสภาพปัญหา สภาพครอบครัวและความต้องการความช่วยเหลือ • กรณีต้องดำเนินการด้านกฎหมายประสานงานกับตำรวจ/อัยการในพื้นที่ • กรณีมีปัญหายุ่งยากซับซ้อนมีการจัดประชุม Case Conference • ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภายในภายและนอกโรงพยาบาล • จัดหาที่พักที่ปลอดภัย กรณีที่มีความจำเป็น • ให้ความร่วมมือกับกระบวนการยุติธรรมเรื่องข้อมูลประวัติต่างๆ • รวบรวมข้อมูล สรุปรายงานและติดตามประเมินผลการช่วยเหลือ

  12. การดำเนินงานด้านการป้องกันและช่วยเหลือการดำเนินงานด้านการป้องกันและช่วยเหลือ • ประเมินด้านความปลอดภัยและความเสี่ยงในการถูกกระทำซ้ำ • ให้ข้อมูลเรื่องความปลอดภัยและการขอความช่วยเหลือที่จำเป็น • ประเมินความสัมพันธ์ระหว่างผู้ป่วย ญาติและผู้นำส่ง • มีแนวทางปฏิบัติในการป้องกันการถูกทำร้ายซ้ำภายในโรงพยาบาล • กรณีที่มีความเสี่ยงต่อความปลอดภัย/สงสัยว่าผู้กระทำเป็นคนใกล้ชิดอาจรับไว้ในโรงพยาบาลก่อน ถึงแม้ไม่มีความจำเป็นทางการแพทย์โดยเฉพาะถ้าผู้ป่วยเป็นเด็ก • รายงานศูนย์OSCCโดยเร็วเพื่อประสานงานการช่วยเหลือต่อไป

  13. แนวทางการป้องกันการถูกทำร้ายซ้ำแนวทางการป้องกันการถูกทำร้ายซ้ำ เมื่อผู้ป่วยอยู่ที่ OPD/ER • ดูแลบุคคลที่มีพฤติกรรมน่าสงสัย • แจ้งเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย • แจ้งศูนย์ OSCC เพื่อประสานงาน

  14. แนวทางการป้องกันการถูกทำร้ายซ้ำ (ต่อ) กรณีไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ ให้ขอความช่วยเหลือดังนี้ • แจ้งหัวหน้าตามลำดับหรือเวรตรวจการทราบ • แจ้งเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยของโรงพยาบาล • แจ้งเจ้าหน้าที่ศูนย์OSCC • แจ้งตำรวจร้อยเวรอาญาในพื้นที่

  15. แนวทางการป้องกันการถูกทำร้ายซ้ำ (ต่อ) เมื่อ Admitted • ให้ข้อมูลเบื้องต้นกับผู้ป่วยด้านความปลอดภัยและการขอความช่วยเหลือ • จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในที่เหมาะสมดูแลง่ายปลอดภัย • ไม่เขียนชื่อผู้ป่วยที่หน้าหอผู้ป่วย/ไม่ให้ข้อมูลทางโทรศัพท์/แจ้งให้ประชาสัมพันธ์และเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยทราบ

  16. Flowchart in helping abused patient ER/OPD/IPD Primary screening If age<18 yrs. Inform OSCC every case Evaluate problems and needs

  17. Mental Sexual Social Consult Problems and Needs Evaluation Physical Examination Evaluate/Consult Abused/Rape Abandon / Family problems yes <72 hrs. Consult Treatment Consult Psychiatrist, Psychologist,Social welfare officer Preventive medicine -Pregnancy -Anti HIV -Infection OSCC

  18. Risk to be re-abused Need for Social care OSCC Co-ordination/Data Collection from Multiprofessional team YES NO YES NO Social Welfare -Emergency home -Welfare home -NGO -Social development -Occupation training -Scholarship Evaluation for going back home/society • Protect by justice • Police • Attorney • Court • Lawyer YES D/C

  19. รายงานการให้บริการศูนย์ OSCC โรงพยาบาลปทุมธานีจำนวนผู้รับบริการทั้งหมด/รายปี

  20. จำนวนผู้ถูกกระทำรุนแรง จำแนกตามอายุ ปี 2550

  21. จำนวนผู้มารับบริการ จำแนกตามลักษณะผู้กระทำความรุนแรง ปี2550

  22. จำนวนผู้รับบริการจำแนกตามสาเหตุ ของการกระทำรุนแรง ปี2550

  23. การดำเนินการช่วยเหลือในด้านต่างๆ ปี2550

  24. การช่วยเหลือด้านเศรษฐกิจ ปี2550

  25. การช่วยเหลือด้านสังคม ปี2550

  26. งานด้านวิชาการ/กิจกรรมศูนย์OSCCปี2550งานด้านวิชาการ/กิจกรรมศูนย์OSCCปี2550

More Related