280 likes | 501 Views
แนวทางการสร้าง แบบประเมินความเสี่ยงในการกระทำผิดซ้ำ Risk of ReConviction. จิตติภรณ์ ฉันทโรจน์ศิริ นักทัณฑวิทยา4 วรดา วสันต์นันทสิริ นักจิตวิทยา6ว กองบริการทางการแพทย์. OUTLINE. สถิติ ทฤษฎี และข้อมูลเบื้องต้น กรณีศึกษาของประเทศไทย
E N D
แนวทางการสร้างแบบประเมินความเสี่ยงในการกระทำผิดซ้ำRisk of ReConviction จิตติภรณ์ ฉันทโรจน์ศิรินักทัณฑวิทยา4วรดา วสันต์นันทสิริ นักจิตวิทยา6วกองบริการทางการแพทย์
OUTLINE • สถิติ ทฤษฎี และข้อมูลเบื้องต้น • กรณีศึกษาของประเทศไทย • วิเคราะห์ผล ปัญหาและอุปสรรคความเป็นไปได้ในการจัดทำแบบประเมินในประเทศไทย
สถิติ ทฤษฎี และข้อมูลเบื้องต้น Statistics, Theory andGeneral Information
World Prison Population List (7th Edition) • 29 มกราคม 2550 • Roy Walmsley, King’s College International Centre for Prison Studies (ICPS) • นักโทษ 9.25 ล้านคน, 214 ประเทศ(เขต)ทั่วโลก, 73% นักโทษเพิ่มขึ้น • เกือบครึ่งของทั้งหมดอยู่ใน • ประเทศสหรัฐอเมริกา (2.19 ล้าน) (อันดับหนี่งของโลก 738:100,000) • สาธารณรัฐประชาชนจีน (1.55 ล้าน) • รัสเซีย (0.87 ล้าน) http://www.prisonstudies.org
World Prison Population List (7th Edition) เทียบอัตราส่วน อันดับ 43 ของโลก ไทย อันดับ 7 ของโลก
การประเมินความเสี่ยง / ความต้องการ 1G – การวินิจฉัยตามขั้นตอนทางการแพทย์ 2G – เน้นการสังเกตปัจจัยที่ไม่เปลี่ยนแปลง 3G – เน้นการสังเกตโดยมุ่งปัจจัยที่เปลี่ยนแปลงได้ ความต้องการที่ชักนำสู่การเป็นอาชญากรและทฤษฎี 4G – แยกเป็นกรณีและติดตามผล “The Recent Past and Near Future of Risk and/or Need Assessment”/D.A.Andrews, J.Bonta, J.S.Wormith
Andrews&Bonta’s 6 Risk Predictors • ความคิดต่อต้านสังคม เช่น ทัศนคติ ค่านิยม ความเชื่อ • ปฏิสัมพันธ์กับบุคคลรอบข้างที่ยอมรับหรือต่อต้านอาชญากร • อารมณ์และบุคลิกภาพ • ประวัติเกี่ยวกับพฤติกรรมที่ต่อต้านสังคม • ปัจจัยทางครอบครัว • การศึกษา / ความสำเร็จในหน้าที่การงานต่ำ “The Psychology of Criminal Conduct: Theory Research and Practice” D.A.Andrews & J.Bonta
ข้อดีของแบบประเมินความเสี่ยงกระทำผิดซ้ำ ข้อดีของแบบประเมินความเสี่ยงกระทำผิดซ้ำ • ผู้บริหารสามารถตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบายได้ง่ายขึ้นเมื่อต้องเลือก • การจัดสรรงบประมาณ • จัดลำดับความสำคัญของโปรแกรมฟื้นฟูที่จำเป็นเบื้องต้นสำหรับผู้ต้องขังที่กระทำผิดซ้ำในคดีรุนแรง • ตั้งบรรทัดฐานสำหรับการประเมินโปรแกรมการบำบัดฟื้นฟู • การทำงานง่ายขึ้น
การจัดทำแบบประเมินความเสี่ยงผู้ต้องขังกระทำผิดซ้ำในประเทศไทยการจัดทำแบบประเมินความเสี่ยงผู้ต้องขังกระทำผิดซ้ำในประเทศไทย Case of THAILAND
สถิติข้อมูลผู้ต้องขังของประเทศไทย สถิติข้อมูลผู้ต้องขังของประเทศไทย ข้อมูล ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2549 • ผู้ต้องราชทัณฑ์ทั่วประเทศ 113,558 คน • ผู้ต้องขังกระทำผิดซ้ำทั้งหมด 16,233 คน • คิดเป็น 14.29% ของผู้ต้องราชทัณฑ์ทั้งหมด
ข้อมูลย้อนหลังที่ถูกต้องและครบถ้วนของผู้ต้องขังทั่วประเทศข้อมูลย้อนหลังที่ถูกต้องและครบถ้วนของผู้ต้องขังทั่วประเทศ ประวัติส่วนบุคคลของผู้ต้องขัง โดยเฉพาะเหตุการณ์ที่สำคัญและเกี่ยวข้องกับการกระทำผิด ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับสังคมที่อาศัยอยู่ เช่น สภาพความเป็นอยู่ เศรษฐกิจ ศีลธรรม ความเชื่อ ข้อมูลผู้ต้องขังทั่วประเทศ ประวัติส่วนบุคคล (สัมภาษณ์) ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับสังคม (สัมภาษณ์) ข้อมูลที่จำเป็นในการจัดทำแบบประเมิน
การเก็บรวบรวมข้อมูลเบื้องต้นการเก็บรวบรวมข้อมูลเบื้องต้น สัมภาษณ์ผู้ต้องขังกระทำผิดซ้ำในเรือนจำ 4 แห่ง เทียบอัตราส่วนที่ความน่าเชื่อถือ .95% • เรือนจำพิเศษกรุงเทพมหานคร (56 คน) • ทัณฑสถานหญิงกลาง (10 คน) • เรือนจำกลางคลองเปรม (29 คน) • เรือนจำกลางบางขวาง (10 คน)
ข้อคำถามสำหรับการสัมภาษณ์ ข้อคำถามสำหรับการสัมภาษณ์ • ข้อมูลส่วนตัว • ข้อมูลเกี่ยวกับการกระทำผิด • บุคลิกภาพ ลักษณะนิสัย • บุคคลรอบข้างที่ติดต่อสื่อสารด้วย • พื้นฐานการศึกษา หน้าที่การงาน • สภาพเศรษฐกิจในครอบครัว • กิจกรรมที่กระทำในการต้องขังครั้งแรก • ลักษณะพิเศษอื่น ๆ ที่พบ อายุระหว่าง 19 - 75 ปี อายุเฉลี่ย 32 ปี
สัดส่วนผู้ต้องขังที่เคยกระทำผิดขณะเป็นเยาวชนสัดส่วนผู้ต้องขังที่เคยกระทำผิดขณะเป็นเยาวชน ผู้ต้องขังเคยกระทำความผิด ขณะเป็นเยาวชนมากที่สุด 11 ครั้ง
สัดส่วนผู้ต้องขังที่กระทำผิดซ้ำทั้งหมดสัดส่วนผู้ต้องขังที่กระทำผิดซ้ำทั้งหมด ผู้ต้องกระทำผิดซ้ำมากที่สุด 15 ครั้ง 23.8% 18.1% 15.2%
ผลที่น่าสนใจ โทษครั้งแรก 6 เดือน – 1 ปี คดีทรัพย์ 70.5% คดียาเสพติด76.2% มากกว่าครึ่งมีการศึกษาไม่สูง บุคคลรอบข้าง 61.9% ยอมรับการเป็นอาชญากร เกือบ 90% เคยใช้สารเสพติด มีคนรู้จักที่เคยติดคุก 73.3%
3 ใน 5 มีปัญหาครอบครัวตอนเด็ก การงานไม่มั่นคงและไม่ประสบความสำเร็จ รายได้ที่หามาได้ไม่เพียง พอต่อการใช้จ่าย 68.6% คิดว่ากิจกรรมที่ ทำขณะต้อง โทษ ไม่เป็นประโยชน์ภายหลังปล่อยตัว ทีมงานวิเคราะห์ว่า 39.0% สามารถเปลี่ยนพฤติกรรมได้ 74.3% ทำงาน, 16.2% บำบัด, 12.4% ศึกษา, 15.2% กิจกรรมอื่น ผลที่น่าสนใจ (ต่อ)
ปัญหาอุปสรรคและความเป็นไปได้ปัญหาอุปสรรคและความเป็นไปได้ วิเคราะห์ผล Discussion, Obstacle, and Possibility
เราใช้แบบประเมินความเสี่ยงเมื่อ...??? เราใช้แบบประเมินความเสี่ยงเมื่อ...??? • ประเมินผู้ต้องขังหลังตัดสินโทษ • ประเมินผู้ต้องขังก่อนปล่อย • วัดประเมินผู้ต้องขังหลังจากได้เข้าร่วมโปรแกรมการบำบัดฟื้นฟู (วัดปัจจัยในส่วนที่เปลี่ยนแปลงได้) ?
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ • แบบประเมิน • ปัจจัยและปัญหา • แบบประเมิน + โปรแกรมบำบัด
แบบทดสอบบุคลิกภาพ ศึกษาระยะยาว สำรวจข้อมูลวงกว้าง ศึกษาเปรียบเทียบ ปัจจัยอื่น ๆ สิ่งที่ต้องศึกษาเพิ่มเติม
ปัญหาและอุปสรรคในการทำงาน ปัญหาและอุปสรรคในการทำงาน ผู้ต้องขังไม่ได้กระทำผิดซ้ำ งบประมาณไม่เพียงพอสำหรับการเก็บข้อมูลทั่วประเทศ การตีความข้อคำถาม ประเมินยาก ใช้วิจารณญาณส่วนบุคคล ข้อมูลจำกัด ทำให้ต้องศึกษาระยะยาว
ปัญหาของแบบประเมินความเสี่ยงกระทำผิดซ้ำ ปัญหาของแบบประเมินความเสี่ยงกระทำผิดซ้ำ หากเป็นกรณีประเทศไทย กรมราชทัณฑ์ นิวซีแลนด์ • สร้างและทดสอบด้วยข้อมูลชุดเดียวกัน • สถิติที่ใช้ไม่สามารถคำนวณปฏิกิริยาที่ซับซ้อน • ความน่าเชื่อถือ ความถูกต้อง และความสมบูรณ์ • กลุ่มตัวอย่างน้อย • ไม่มีกระบวนการวัดที่เป็นพื้นฐานมาก่อน • ผู้นำแบบทดสอบไปใช้ไม่มีความเข้าใจเพียงพอ • การแบ่งกลุ่มที่ไม่ยุติธรรม • เสนอผลลัพธ์ที่เป็นไปได้เพียงข้อเดียว
ขอบคุณค่ะ จิตติภรณ์ – jittiporn@gmail.com วรดา – nuyuhoo@gmail.com #103 http://www.correct.go.th/JIT/index.html
Andrews&Bonta’s 6 Risk Predictors • Anti-social cognitions: attitudes, values, & beliefs • High ratio of pro-criminal: anti-criminal associates • Temperament & personality • History of anti-social behaviour • Familial factors • Low educational / work achievement
ผลที่น่าสนใจ • สัมภาษณ์ผู้ต้องขังอายุระหว่าง 19 – 75 คน • อายุเฉลี่ย 32 ปี • โทษขณะเป็นวัยรุ่นสูงสุด 11 ครั้ง • โทษรวมทั้งหมดสูงสุด 15 ครั้ง • ทรัพย์ 70.5%, ยาเสพติด 76.2% • โทษ 6 เดือน – 1 ปี • บุคคลรอบข้าง 61.9% ยอมรับการเป็นอาชญากร • มีคนรู้จักที่เคยติดคุก 73.3%
ผลที่น่าสนใจ (ต่อ) • มากกว่าครึ่ง การศึกษาไม่สูง • การงานไม่มั่นคงและไม่ประสบความสำเร็จ • เงินที่หามาได้ไม่เพียงพอต่อการใช้จ่าย • ส่วนมากสามารถควบคุมอารมณ์ได้ • กิจกรรมขณะจำคุก 74.3% ทำงาน, 16.2% โปรแกรมบำบัด, 12.4% ศึกษา, 15.2% กิจกรรมอื่น • 68.6% คิดว่ากิจกรรมที่ทำขณะต้องโทษไม่เป็นประโยชน์ภายหลังปล่อยตัว • ทีมงานวิเคราะห์ว่า 52.4% ไม่สามารถเปลี่ยนพฤติกรรมได้