620 likes | 1.31k Views
Research Methodology. Out line. การวิจัยคือ ? กระบวนการวิจัย การวิจัยด้านการจัดการความรู้ ทำไมต้องทำวิจัย จะเริ่มต้นทำวิจัยจากตรงไหน กระบวนการทำวิจัย • Model of research • Research questions and hypotheses • Process of generating research idea • Selecting research question
E N D
Out line • การวิจัยคือ? • กระบวนการวิจัย • การวิจัยด้านการจัดการความรู้ • ทำไมต้องทำวิจัย • จะเริ่มต้นทำวิจัยจากตรงไหน • กระบวนการทำวิจัย • Model of research • Research questions and hypotheses • Process of generating research idea • Selecting research question • Research design and process
Objective • เข้าใจหลักการการทำวิจัย • ทำไมงานวิจัยจึงมีความสำคัญ • เข้าใจกระบวนการวิจัย • นักศึกษาสามารถประมวลที่มา สถานการณ์ และโจทย์วิจัยของตนได้
งานวิจัยคือ? ? ? ? ? ? ?
วิธีหาความรู้ของมนุษย์วิธีหาความรู้ของมนุษย์ คำว่า การวิจัย มาจากคำว่า Research มีรากศัพท์มาจาก Re + Search Re แปลว่า ซ้ำ Search แปลว่า ค้น Research แปลว่า การค้นหาความรู้ความจริงที่ค้นแล้วค้นอีก ซึ่งจะทำให้ได้รับรู้ความรู้ความจริงที่น่าเชื่อถือ ถูกต้อง เพราะมีข้อมูลที่เพียงพอต่อการสรุป
วิธีหาความรู้ของมนุษย์วิธีหาความรู้ของมนุษย์ • การวิจัยเป็นกระบวนการหาความรู้ที่ได้รับการยอมรับว่า ความรู้ที่ได้มานั้นป็นความรู้ที่เป็นที่น่าเชื่อถือสามารถนำไปใช้หรือประยุกต์ใช้ได้เป็นอย่างดี • มนุษย์มีกระบวนการหาความรู้มาเป็นเวลานานและความรู้ที่ได้หลายอย่างยังคงสามารถใช้ได้อยู่ในปัจจุบัน
วิธีหาความรู้ของมนุษย์วิธีหาความรู้ของมนุษย์ • อุปนัย (Inductive reasoning)อุปนัย : การหาความจริงด้วยการสังเกตข้อเท็จจริง มักเป็นการมองสิ่งเฉพาะเจาะจง แล้วนำไปสู่หลักทั่วไป • นิรนัย (Deductive Reasoning หรือ Aristotelian Deduction)พิจารณาเหตุผลลงความเห็นโดยพิจารณาจากหลักทั่วไปแล้วนำไปสู่เรื่องเฉพาะ • เริ่มต้นจาก กฎ หรือ หลักวิชา ก่อนแล้วสรุปผล เป็น deductive • เริ่มต้นจากประสบการณ์ หรือจากการสังเกต เป็น inductive http://www.sjsu.edu/depts/itl/graphics/induc/ind-ded.html
วิธีหาความรู้ของมนุษย์วิธีหาความรู้ของมนุษย์ ทุกครั้งที่เตะลูกบอลขึ้นไปลูกบอลจะตกลงมาดังนั้น คาดว่าครั้งต่อไปถ้าเตะลูกบอลขึ้นไปอีกลูกบอลก็คงจะตกลงมาอีกเหมือนเดิม (เคยทำครั้งที่ 1 มาแล้วจึงคาดคะเนผลครั้งที่ 2) กฎของนิวตัน ทุกอย่างที่นำไปไว้อยู่บนที่สูงจะตกลงมาที่พื้น ดังนั้นถ้าเตะลูกบอลขึ้นไปลูกบอลคงจะต้องตกลงมา (แม้ว่าจะไม่เคยทดลองทำแม้แต่ครั้งเดียว)
วิธีหาความรู้ของมนุษย์วิธีหาความรู้ของมนุษย์ อริสโตเติลเชื่อว่า การรับเอาความรู้ความจริงของมนุษย์ เกิดจากการอาศัยหลักของเหตุผลในการจะเชื่อ ซึ่ง ความรู้หรือความจริงนั้นจำเป็นจะต้องได้รับการพิสูจน์ก่อน โดยจะเริ่มที่กำหนดความรู้ความจริงขึ้นมา แล้วพิจารณาว่าตัวอย่างหนึ่ง ๆ อยู่ในเงื่อนไขหรือไม่ แล้วจึงสรุปเป็นความรู้ความจริง ข้อเท็จจริงใหญ่ - นกทุกชนิดมีปีกข้อเท็จจริงย่อย - กาเป็นนกชนิดหนึ่งข้อสรุป - กามีปีก
วิธีหาความรู้ของมนุษย์วิธีหาความรู้ของมนุษย์ • ฟรานซิส เบคอน แย้งวิธีอนุมานของอริสโตเติล ว่ามีข้อบกพร่อง หากข้อเท็จจริงใหญ่ไม่ถูกต้อง แล้วจะทำให้ข้อสรุปที่จะเป็นความรู้ความจริงนั้นไม่ถูกต้องด้วยข้อเท็จจริงใหญ่ - ปลาทุกชนิดมีเกล็ดข้อเท็จจริงย่อย - ปลาดุกเป็นปลาชนิดหนึ่งข้อสรุป - ปลาดุกมีเกล็ดแม้ว่าข้อเท็จจริงใหญ่และข้อเท็จจริงย่อยจะถูกต้องแต่ ยังอาจมีเงื่อนไขที่ทำให้ข้อสรุปไม่ถูกต้อง เช่นข้อเท็จจริงใหญ่ - นกทุกชนิดออกลูกเป็นไข่ข้อเท็จจริงย่อย - เต่าออกลูกเป็นไข่ข้อสรุป -เต่าจึงเป็นนกชนิดหนึ่ง
วิธีหาความรู้ของมนุษย์วิธีหาความรู้ของมนุษย์ • ฟรานซิส เบคอน แย้งวิธีอนุมานของอริสโตเติล ว่ามีข้อบกพร่อง • วิธีการอนุมานของอริสโตเติล ไม่ช่วยให้พบความรู้ความจริงใหม่ ๆ • ไม่มีความรู้ที่เกิดขึ้นใหม่ มีเพียงความรู้เก่าที่นำมาพิสูจน์เท่านั้น เบคอน จึงเสนอ วิธีอุปมาน (Baconian Induction) ขั้นที่ 1 เก็บรวบรวมข้อมูลหรือข้อเท็จจริงย่อยขั้นที่ 2. วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อดูความสัมพันธ์ระหว่าง ข้อเท็จจริงย่อยเหล่านั้นขั้นที่ 3 สรุปผล (Conclusion) ข้อเท็จจริงย่อย - นกแต่ละชนิดมีปีกข้อสรุป - นกทุกชนิดมีปีก
วิธีหาความรู้ของมนุษย์วิธีหาความรู้ของมนุษย์ • ฟรานซิส เบคอน แย้งวิธีอนุมานของอริสโตเติล ว่ามีข้อบกพร่อง หลักอุปมานมี 2 แบบคือ 1. อุปมานอย่างสมบูรณ์ (Perfect Induction) แสวงหาความรู้โดยการเก็บรวบรวม ข้อเท็จจริงย่อย ๆ จากทุกหน่วยของประชากร แล้วจึงสรุปรวม 2. อุปมานที่ไม่สมบูรณ์ (Imperfect Induction) แสวงหาความรู้โดยการเก็บรวบรวม ข้อเท็จจริงย่อย ๆ จากบางส่วนของหน่วยประชากร แล้วจึงสรุปรวม
วิธีหาความรู้ของมนุษย์วิธีหาความรู้ของมนุษย์ • ชาร์ล ดาร์วินนำวิธีอนุมานของอริสโตเติลและวิธีอุปมานของ เบคอน มารวมกัน เพราะเห็นว่าทั้งสองวิธีจะมีประโยชน์อย่างมากในการที่จะค้นความความรู้ความจริง และตรวจสอบความถูกต้องความรู้ความจริงนั้น • เรียกว่า • วิธีการอนุมาน-อุปมาน
วิธีหาความรู้ของมนุษย์วิธีหาความรู้ของมนุษย์ Deductive-Inductive Method 5 ขั้นตอน1.ขั้นปัญหา (Problem)2.ขั้นตั้งสมมติฐาน(Hypothesis)3.ขั้นรวบรวมข้อมูล(Gathering Data)4.ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล(Analysis)5.ขั้นสรุป(Conclusion)
วิธีหาความรู้ของมนุษย์วิธีหาความรู้ของมนุษย์ (Deductive-Inductive Method) 5 ขั้นตอน 1.ขั้นปัญหา (Problem)เป็นขั้นตอนการสังเกตพบปัญหา หรือพบว่าความรู้ความจริงใดเป็นสิ่งที่เราต้องการ มีเหตุการหรือสภาพการณ์เป็นอย่างไร มีเหตุหรือปัจจัยอะไรที่ทำให้เกิดเหตุการณ์หรือสภาพการณ์นั้น2.ขั้นตั้งสมมติฐาน(Hypothesis)เป็นการศึกษาและทบทวนความรู้ที่มีอยู่เดิมมาประกอบการพิจารณาว่าคำตอบของปัญหาในขั้นที่ 1 นั้นเป็นอย่างไร ซึ่งเรียกว่า การตั้งสมมติฐาน ซึ่งจะใช้เป็นแนวในการตรวจสอบว่า สมมติฐานที่ตั้งขึ้นนี้จะเป็นจริงหรือไม่
วิธีหาความรู้ของมนุษย์วิธีหาความรู้ของมนุษย์ (Deductive-Inductive Method) 5 ขั้นตอน 3.ขั้นรวบรวมข้อมูล(Gathering Data)การเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง มาอย่างเพียงพอและตรงกับสิ่งที่ต้องการศึกษา 4.ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล(Analysis)ในขั้นนี้จะเป็นการนำข้อมูลที่รวบรวมมาทำการวิเคราะห์เพื่อคำตอบที่ต้องการ 5.ขั้นสรุป(Conclusion)ในขั้นตอนนี้เป็นการนำผลการวิเคราะห์มาแปลผลและตีความผลการวิจัยที่พบ เพื่อสรุปผลการวิจัยนั่นเอง
งานวิจัยคือ? • เป็นหนึ่งในวิธีการที่ใช้ค้นหาสาเหตุหรือที่มาของปัญหาอย่างมีขั้นตอนและเป็นระบบ • การตั้งคำถาม แล้วดำเนินการ เพื่อหาคำตอบ • กระบวนการคิด แล้วทำอย่างเป็นระบบ เพื่อค้นหาองค์ความรู้ใหม่, เพื่อแก้ปัญหา, เพื่อพัฒนา แหล่งข้อมูล:ระเบียบวิธีวิจัยธุรกิจ, นราศรี ไววนิชกุล และชูศักดิ์ อุดมศรี, 2533
งานวิจัยคือ? วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method)เป็นวิธีการหาความรู้ความจริงที่มีความน่าเชื่อถือ • กระบวนการวิจัยจะต้องได้จากข้อมูลใหม่ • จุดมุ่งหมายใหม่ หรือข้อมูลเก่า แต่จุดประสงค์ใหม่ • การวิจัยมุ่งที่จะหา ข้อเท็จจริงใหม่ ทฤษฎีใหม่ • การวิจัยเป็นกระบวนการที่ใช้เหตุผล • การวิจัยต้องมีการวางแผน ด้วยความระมัดระวัง อย่างมีระบบ • การวิจัย ต้องมีการบันทึก และรายงาน อย่างละเอียด แหล่งข้อมูล http://www.edurmu.org/cai/_surawart/elearning/content/lesson1/101.html
กิจกรรมที่เป็นการวิจัยกิจกรรมที่เป็นการวิจัย • ทำให้เกิดความเข้าใจมากขึ้นต่อหลักการบางอย่าง เช่นแสงเดินทางเร็วกว่าเสียง • พัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ เช่นรถไฟฟ้า,คอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพดีขึ้น • พัฒนากระบวนการหรือเทคนิคใหม่ๆ ที่ส่งผลให้กระบวนการดีกว่าเดิม • ปรับปรุงแนวปฏิบัติที่ทำอยู่ในปัจจุบัน • การพัฒนาความเข้าใจใหม่จากความรู้ที่มีอยู่
วัตถุประสงค์ของการวิจัย • เพื่อใช้ในการบรรยาย หรือบอกสิ่งที่เกิดขึ้น ว่าเป็นเช่นไร อยู่ที่ใด มีกี่ประเภท มากน้อยเพียงใด มีสภาพเป็นอย่างไร มีพัฒนการหรือเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร หรือ มีปัญหาอะไร มีความพึงพอใจมากน้อยเพียงใด เป็นต้น • เพื่อใช้ในการอธิบาย ผลที่ได้จากการวิจัยทำให้สามารถบอกเหตุผลของสิ่งที่เกิดขึ้นได้ ว่ามีสาเหตุมาจากสิ่งใดหรือได้รับอิทธิพลจาก ตัวแปรใดหรือปัจจัยใด รวมทั้ง ปัจจัยใดมีอิทธิพลมากน้อยกว่ากัน • เพื่อใช้ในการทำนาย ในบางครั้ง เราจำเป็นที่จะต้องทราบอนาคตของสิ่งที่ศึกษา ว่าเป็นเช่นไร อันจะช่วยให้มนุษย์สามารถที่เตรียมการ ปรับตัวให้ทันการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นได้ในอนาคตได้ แหล่งข้อมูล:http://www.nrct.net/modules.php?op=modload&name=FAQ&file=index 2006-02-11
วัตถุประสงค์ของการวิจัย • เพื่อใช้ในการควบคุม การดำเนินกิจกรรม ที่ต้องการประสิทธิภาพและคุณภาพของงาน ต้องเฝ้าติดตามการเปลี่ยนแปลง และมีการปรับปรุงการดำเนินกิจกรรมนั้น ๆ เพื่อ ให้สามารถได้ข้อมูลที่ถูกต้องทันเหตุการณ์และเพียงพอต่อการตัดสินใจ แก้ปัญหาและปรับปรุงงานนั้น ๆ จำเป็นจะต้องอาศัยกระบวนการวิจัยที่รอบรอบรัดกุม • เพื่อใช้ในการพัฒนา การวิจัยจะช่วยให้ทราบสภาพความเป็นอยู่ หรือสภาพการดำเนินการใด ๆ ว่ามีประสิทธิภาพ หรือมีปัญหา หรือทราบว่าต้องการพัฒนาด้านใด เพื่อช่วยให้การดำเนินการพัฒนามีประสิทธิภาพและส่งผลต่อคุณภาพ แหล่งข้อมูล:http://www.nrct.net/modules.php?op=modload&name=FAQ&file=index 2006-02-11
ประโยชน์ของการวิจัย • ได้ความรู้ใหม่ ทั้งทางทฤษฎีและปฏิบัติ • พิสูจน์หรือตรวจสอบความถูกต้องของกฏเกณฑ์ หลักการและทฤษฎีต่างๆ • เข้าใจสถานการณ์ ปรากฏการณ์และ พฤติกรรมต่าง ๆ • ช่วยพยากรณ์ผลภายหน้าของสถานการณ์ ปรากฏการณ์และพฤติกรรมต่าง ๆ ได้อย่าง ถูกต้อง • ช่วยแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ • ช่วยในการวินิจฉัย ตัดสินใจได้อย่างเหมาะสม • ช่วยปรับปรุงการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น • ช่วยปรับปรุงและพัฒนาสภาพความเป็นอยู่ และวิธีดำรงชีวิตได้ดียิ่งขึ้น • ช่วยกระตุ้นบุคคลให้มีเหตุผล รู้จักคิดและค้นคว้าหาความรู้อยู่เสมอ แหล่งข้อมูล:http://www.nrct.net/modules.php?op=modload&name=FAQ&file=index 2006-02-11
ขั้นตอนพื้นฐานในการทำโครงการวิจัยขั้นตอนพื้นฐานในการทำโครงการวิจัย • หาหัวข้อ – what and when • ตั้งคำถาม – what and why • กำหนดประชากร / ขอบเขตการวิจัย – who and when • ออกแบบกระบวนการวิจัยและ กำหนดวิธีการวิเคราะห์/ประเมิน – How • หาหลักฐาน เก็บข้อมูลทุตยภูมิ และปฐมภูมิ – How • วิเคราะห์ / ตีความ จากหลักฐานที่เก็บ – Why • แสดงผลว่าทำอะไรไปบ้าง และ ค้นพบอะไร / ได้ผลเป็นอย่างไร Kate Manual, online:http://myemail.tut.edu.tw/~z9501002/file/ResearchMethodology101.ppt#256,1,Research Methodology 101
ระเบียบวิธีวิจัย (Research Methodology)
ระเบียบวิธีวิจัย (Research Methodology) วิธีการค้นหาคำตอบ ที่ทำเป็นกระบวนการ เพื่อใช้ค้นหาคำตอบ เป็นแบบแผนของการวิจัย ที่เริ่มตั้งแต่ การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลอย่างมีขั้นตอน
ระเบียบวิธีวิจัย (Research Methodology) • Research = วิจัยค้นหาความรู้ • Method = วิธีระเบียบแบบแผน • Research Methodology = ระเบียบวิธีวิจัย ระเบียบวิธีวิจัย คือกระบวนการที่ใช้เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของที่ตั้งไว้ • แหล่งข้อมูล : ผศ.(พิเศษ)น.พ.นภดล สุชาติ
ส่วนประกอบของ Research Methodology ระเบียบวิธีวิจัย (Research Methodology) • Reviews & Questions • Objectives • Expected Outcomes • Scope • Methods and tools • Data Analysis • Research Plan, duration
ส่วนประกอบของ Research Methodology 1. Reviews & Questionsทบทวนวรรณกรรมและ ตั้งโจทย์วิจัย แนวทางเพื่อให้ได้มาซึ่งโจทย์วิจัย • ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ เช่นการใช้ Delphi technique กระบวนการหรือเครื่องมือที่ใช้ในการตัดสินใจ หรือได้ข้อสรุปในเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างเป็นระบบ ที่ปราศจากการเผชิญหน้าโดยตรงของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ โดยการรวบรวมและสอบถามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ • การทบทวนวรรณกรรม เป็นการสืบค้นงานวิจัยที่มีผู้ทำมาก่อนแล้ว เพื่อศึกษาว่ามีใครทำงานวิจัยใดไว้บ้าง โจทย์วิจัยคืออะไร ใช้วิธิการ ทฤษฎีอะไรในการวิจัย และผลที่ได้เป็นอย่างไร
ส่วนประกอบของ Research Methodology 1. Reviews & Questionsทบทวนวรรณกรรมและ ตั้งโจทย์วิจัย แนวทางเพื่อให้ได้มาซึ่งโจทย์วิจัย • Stakeholder analysis เป็นกระบวนการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อตัดสินว่าความเห็น หรือความสนใจของใครควรถูกนำมาใช้ในการดำเนินการเพื่อพัฒนา และดำเนินการ • Academic Meetings • ผลที่ได้ • Conceptual framework
Example of • research conceptual framework
ส่วนประกอบของ Research Methodology 2. การกำหนดวัตถุประสงค์ • มีความเป็นไปได้ในการหาคำตอบ • ผู้ทำวิจัยมีความสนใจ • ก่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ที่นำไปสู่การกำหนดนโยบาย,การปฏิบัติ • คำนึงถึงจริยธรรม คุณธรรม
ส่วนประกอบของ Research Methodology 3. ผลที่คาดว่าจะได้รับ • แตกต่างจากวัตถุประสงค์ • เป็นผลที่ได้จากการได้ความรู้ใหม่ กระบวนการใหม่ • ส่งผลต่อการปฏิบัติ นโยบาย • ส่งผลต่อแนวทางการดำเนินการใหม่
4. ขอบเขตการวิจัย ส่วนประกอบของ Research Methodology • ขอบเขตการวิจัย การวิจัยครอบคลุมเนื้อหาของงานแค่ไหน • การเก็บข้อมูล การสุ่มตัวอย่าง เก็บข้อมูลจากใคร จำนวนตัวอย่างที่เก็บข้อมูล
5.วิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย5.วิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ส่วนประกอบของ Research Methodology • วิธีการที่ใช้ เช่นการใช้แบบจำลอง การใช้หลักการ ทฤษฎีในการวิจัย • เครื่องมือ เช่น ใช้แบบสอบถาม ในการเก็บข้อมูล การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ข้อมูล
6. การวิเคราะห์ข้อมูล ส่วนประกอบของ Research Methodology • สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) • อัตราส่วน Ratio A:B • สัดส่วน Proportion A/(A+B) • ร้อยละ Percent % • สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics)Hypothesis testing • Counted Variables : Chi square • Measure Variables : t-test
ส่วนประกอบของ Research Methodology 7 แผนและระยะเวลาในการทำวิจัย: Gantt Chart
Academic Research Focuses on Knowledge as the end product – for Social benefit
Academic Research Mode 1 Classic model • Scientific • What… question • Objective • Single discipline Mode 2 Modern model • Practice based • How… question • Subjective • Multidiscipline
การวิจัยด้านการจัดการความรู้ KM journal Source: http://www.emeraldinsight.com/journals.htm?issn=1367-3270&volume=15&issue=6 • Effects of knowledge spillovers on innovation and collaboration in science and technology parksAngeles Montoro-Sánchez, Marta Ortiz-de-Urbina-Criado, Eva M. Mora-Valentín • Knowledge retention: minimizing organizational business lossMoria Levy • Firm-internal knowledge integration and the effects on innovationAnne Koch • Organizational factors to support knowledge management and innovationMario Javier Donate, FátimaGuadamillas (pp. 890 - 914) • Innovation as a knowledge-based outcome Eric Quintane, R. Mitch Casselman, B. Sebastian Reiche, Petra A. Nylund
Why research การใช้สัญชาติญาณ และการใช้อำนาจ ในการดำเนินการ ปัญหา • อาจมีความลำเอียงเนื่องจากทัศนคติของผู้ปฏิบัติ ซึ่งส่งผลต่อการตัดสินใจที่ผิดพลาด • เราจะแน่ใจได้อย่างไรว่าสัญชาติญาณนั้นถูกต้อง • เราจะแน่ใจได้อย่างไรว่าผู้ที่มีส่วนในการตัดสินใจ มีข้อสรุปที่ถูกต้อง
Why research แต่สัญชาติญาณ และความเห็นของผู้ที่มีอำนาจในการตัดสินใจ สามารถใช้เป็น guides และ ideas ในการทำวิจัย
Where to start เริ่มอย่างไร Sources of Ideas • Common sense • Observation of things happening in the world • Past research • Practical problems • Theories
Where to start โจทย์วิจัย การเริ่มต้นจาก โจทย์วิจัย เป็นวิธีการที่ดีวิธีการหนึ่ง ในการทำวิจัย
Where to start Initial problem / opportunity Theory 1 Hypothesis Research question Theory 2 Theory 3 Hypothesis
โจทย์วิจัย Where to start • ควรเป็นคำถามสั้นๆ • ไม่เป็นคำถามที่ตอบไม่ได้ • คำถามนั้นจะต้องหาคำตอบได้ด้วยการวิจัย • ไม่เป็นคำถามที่ใครๆก็รู้คำตอบกันอยู่แล้ว ใช้สามัญสำนึกตอบก็ได้ • เป็นเรื่องที่ผู้วิจัยมีความสนใจที่จะทำ ต้องการที่จะรู้คำตอบ • คำตอบที่ได้จะนำไปใช้ประโยชน์อะไร เช่น นำไปกำหนดเป็นนโยบายแนวทางปฏิบัติ • แหล่งข้อมูล: ผศ.(พิเศษ)น.พ.นภดล สุชาติ พ.บ. M.P.H.
โจทย์วิจัยที่ไม่ควรตั้งโจทย์วิจัยที่ไม่ควรตั้ง • สถานการณ์ที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ • คำถามเร่งด่วนที่ไม่มีเวลาในการทำวิจัยเพื่อหาคำตอบ • ผิดจรรยาบรรณ ศิลธรรม