440 likes | 681 Views
The Physical Layer. อาจารย์ นัณฑ์ศิ ตา ชูรัตน์. Physical Layer. Physical Layer ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสื่อสาร ( Transmission) ทำหน้าที่ จัดการเชื่อมต่อ และ การส่งสัญญาณทางไฟฟ้า จากผู้ส่ง ไปยังผู้รับ โดยผ่าน สื่อกลาง
E N D
The Physical Layer อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์
Physical Layer Physical Layer ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสื่อสาร (Transmission) ทำหน้าที่ จัดการเชื่อมต่อ และ การส่งสัญญาณทางไฟฟ้า จากผู้ส่ง ไปยังผู้รับ โดยผ่านสื่อกลาง Physical Layer เป็นส่วนล่างที่รองรับทุกอย่าง ทำหน้าที่ขนส่งสัญญาณ ของ Layer ที่สูงกว่าทั้งหมดโดยมาตรฐานที่ใช้กันมากที่สุดใน Physical Layer คือ RS-232C มาตรฐานของสัญญาณ และสายที่กำหนด ว่าสัญญาณไหนทำอะไร และระดับแรงดันไฟฟ้าเท่าใดแทน 0 หรือ 1
การเข้ารหัสสัญญาณดิจิตอลการเข้ารหัสสัญญาณดิจิตอล • การแปลงข้อมูลดิจิตอลให้เป็นสัญญาณดิจิตอล (DigitalDatatoDigitalSignal) • การส่งข้อมูลดิจิตอลผ่านช่องทางสื่อสารแบบดิจิตอลจะต้องมีการเข้ารหัส • เพื่อให้สามารถส่งข้อมูลไปได้อย่างปลอดภัย เกิดการผิดพลาดของการส่งข้อมูลน้อย • มีเทคนิควิธีเข้ารหัสสัญญาณดิจิตอลหลายวิธีด้วยกัน • แบบ NRZ-L เป็นแบบที่ง่ายที่สุด โดยใช้ระดับแรงดันที่แตกต่างกันสองระดับ • ส่วนสําหรับเครือข่าย LAN (Ethernet) จะใช้เทคนิค Manchester • เทคนิค DifferentialManchesterสําหรับTokenRing
การเข้ารหัสสัญญาณดิจิตอลการเข้ารหัสสัญญาณดิจิตอล • NRZ-L (NonreturntoZeroLevel) • 0 = high level ค่าสูง • 1 = lowlevel ค่าต่ำ • NRZI (NonreturntoZeroInverted) • 0 = ไม่มีการเปลี่ยนแปลงที่บิตเริ่มต้น • 1 = เปลี่ยนแปลงเป็นตรงกันข้าม
การเข้ารหัสสัญญาณดิจิตอลการเข้ารหัสสัญญาณดิจิตอล • Bipolar-AMI • 0 = ไม่มีสัญญาณ • 1 = สัญญาณเป็นบวกและลบสลับกัน • Pseudoternary • 0 = สัญญาณเป็นบวกและลบสลับกัน • 1 = ไม่มีสัญญาณ
Manchester • 0 = เปลี่ยนจากค่าสูงเป็นค่าต่ำในช่วงกลาง • 1 = เปลี่ยนจากค่าต่ำเป็นค่าสูงในช่วงกลาง • Differential Manchester • จะมีการเปลี่ยนแปลงที่ช่วงกลางเสมอ • 0 = เปลี่ยนเป็นสัญญาณตรงกันข้ามกับด้านหน้า • 1 = ไม่เปลี่ยนแปลงสัญญาณจากด้านหน้า
ปจจัยที่มีสวนเกี่ยวของกับความเร็วบนตัวกลางที่ใชสงขอมูลปจจัยที่มีสวนเกี่ยวของกับความเร็วบนตัวกลางที่ใชสงขอมูล • ขอควรพิจารณาในการออกแบบระบบการสงผานขอมูล คืออัตราความเร็วของขอมูล และระยะทาง (Data Rate and Distance) โดยอัตราความเร็วของขอมูลที่สูงและสามารถผานไดในระยะ ทางไกล ยอมดีกว่าอัตราความเร็วของขอมูลที่ต่ำและสงไดในระยะทางที่สั้น สวนจํานวนปจจัยที่ เกี่ยวของกับตัวกลางที่ใชสงข้อมูล และสัญญาณเพื่อนํามาประกอบการพิจารณาดานความเร็วของ ขอมูลและระยะทาง ประกอบดวย • แบนดวิดธ (Bandwidth) • ความสูญเสียตอการสงผาน (Transmission Impairments) • การรบกวนของสัญญาณ (Interference) • จํานวนโหนดที่เชื่อมตอ (Number of Receivers)
สายคูบิดเกลียว (Twisted-Pair) ประกอบดวย 4 คู สายคูบิดเกลียวแบงออกไดเปน 2 ประเภท คือ สายคูบิดเกลียวแบบไมมีชีลด (UTP : Unshielded Twisted-Pairs) และ สายคูบิดเกลียวแบบมีชีลด (STP : Shielded Twisted-Pairs) สําหรับการสงขอมูลดวยสายคูบิดเกลียวจะมีคุณลักษณะสําคัญตางๆดังตอไปนี้ กรณีสงขอมูลแบบแอนะล็อกจําเปนตองมีเครื่องขยาย (Amplifiers) เพื่อเพิ่มกําลังสง ในระยะทางทุกๆ 5 ถึง 6 กิโลเมตร กรณีสงขอมูลแบบดิจิตอล จําเปนตองใชอุปกรณที่เรียกวาเครื่องทวนสัญญาณ (Repeater) ในระยะทางทุกๆ 2 ถึง 3 กิโลเมตร ใชงานบนระยะทางที่จํากัด มีแบนดวิดที่จํากัด(1 MHz ถึง 100 MHz ) อัตราความเร็วในการสงขอมูลมีจํากัด ไวตอสัญญาณรบกวน
ขอดีและขอเสียของสายคูบิดเกลียวขอดีและขอเสียของสายคูบิดเกลียว ขอดี • ราคาถูก • งายตอการนําไปใชงาน ขอเสีย • ความเร็วจํากัด • ใชกับระยะทางสั้น ๆ • ในกรณีเปนสายแบบไมมีชีลดปองกันสัญญาณรบกวน ก็จะไวตอสัญญาณรบกวนภายนอก