120 likes | 212 Views
Virtual. Trunking Protocol. 8. ไฟล์ฐานข้อมูล VLAN ใน Flash (VLAN.DAT) ตำแหน่งฐานข้อมูล VLAN ที่สวิตช์ VTP โหมดต่างๆ นำมาใช้. 8-1. Router Console. Switch# dir flash: Directory of flash:/ 1 - rw - 3058048 <no date> c2950-i6q4l2-mz.121-22.EA4.bin
E N D
Virtual Trunking Protocol 8
ไฟล์ฐานข้อมูล VLAN ใน Flash (VLAN.DAT) • ตำแหน่งฐานข้อมูล VLAN ที่สวิตช์ VTP โหมดต่างๆ นำมาใช้ 8-1
Router Console Switch#dir flash: Directory of flash:/ 1 -rw- 3058048 <no date> c2950-i6q4l2-mz.121-22.EA4.bin 2 -rw- 736 <no date> vlan.dat • แต่แรกเป็นไฟล์ VLAN.dat ใน Flash • (เพราะโหมด Default ของ VTP เป็น Server อยู่แล้ว) • มีแค่ VLAN ID และ Name (จึงต้องตั้งค่าสมาชิกของพอร์ตบนแต่ละเครื่องเอง) เพราะฉะนั้น การรีเซ็ตสวิตช์ให้กลับเป็นเหมือนมาจากโรงงาน นอกจากลบ Startup Configแล้ว ต้องลบ VLAN.dat ในแฟลชก่อนรีโหลดด้วย 8-2
จัดการฐานข้อมูล VLAN ของ Switch ทั้ง LAN • ช่วยลดเวลาการดูแลฐานข้อมูล VLAN บนสวิตช์ทั้งโดเมน • ส่ง VTP frame บน Trunk เท่านั้น!!! • Switch จะมี VTP mode อยู่ 3 แบบ: • Server: เจ้าของฐานข้อมูล • Client: ผู้ที่คอยรับฐานข้อมูลมาใช้ • Transparent: ไม่มีส่วนร่วม แต่ช่วยส่งต่อ 8-3
VTP version: บอกว่าอุปกรณ์นี้เลือกใช้งานได้ถึงเวอร์ชั่น2 “ไม่ได้บอกว่ากำลังใช้เวอร์ชั่น2 อยู่” • Configuration Revision คือเลขเวอร์ชั่นของฐานข้อมูล VLAN ถ้ารับข้อมูลที่ Configuration Revision สูงกว่าตัวที่ตนเองใช้อยู่ ก็จะอัพเดตตามตัวใหม่ • VTP Operating Mode: โหมด VTP ของสวิตช์ ซึ่งบ่งบอกพฤติกรรมที่จะจัดการฐานข้อมูล VLAN • VTP Domain name: ชื่อโดเมนที่ตั้งไว้เพื่อให้สวิตช์ที่เชื่อมต่อกันแบบ Trunk ที่มีโดเมนเดียวกัน ใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน • VTP V2 mode: บอกว่าใช้เวอร์ชั่น2 อยู่หรือไม่ ค่าดีฟอลท์เป็น Disabled (คือใช้เวอร์ชั่น1)เพราะถ้าสวิตช์ในโดเมนตัวใดไม่รองรับเวอร์ชั่น2 จะไม่สามารถเข้าร่วมโดเมนได้ Router Console Switch#showvtp status VTP Version : 2 Configuration Revision : 4 Maximum VLANs supported locally : 255 Number of existing VLANs : 8 VTP Operating Mode : Server VTP Domain Name : ranet VTP Pruning Mode : Disabled VTP V2 Mode : Enabled 8-4
Server mode • แก้ไขฐานข้อมูล VLAN เองได้ • บันทึกข้อมูล VLAN ลง Flash • เป็นโหมด Default • ส่งต่อ และนำข้อมูล VLAN มาแก้ไขบนตัวเองได้ Client mode • แก้ไขฐานข้อมูล VLAN เองไม่ได้ • ไม่บันทึกข้อมูล VLAN ถ้าเปิดเครื่องใหม่จะยังไม่มีข้อมูล VLAN • ส่งต่อ และนำข้อมูล VLAN มาแก้ไขบนตัวเองได้ VTP SERVER 8-5 Transparent Transparent mode • ถือว่าไม่เข้าร่วม VTP Domain • แก้ไข VLAN “ของตัวเอง” ได้ • แต่ไม่ส่งต่อ หรือรับข้อมูลตัวอื่นมาแก้ VLAN “ของตัวเอง” • ใน VTP version 2: จะส่งต่อ VTP frame ที่ได้รับ ที่อยู่ในโดเมนเดียวกัน ไปให้ Switch ตัวอื่น • Revision No.= “0”เสมอ VTP Client
ขั้นตอนการรับเฟรม VTP มาพิจารณา • 1. ตรวจโดเมนว่าตรงหรือไม่? • 2. ตรวจ Revision No. ว่ามากกว่าหรือไม่? VTP SERVER 8-6 Trunk Trunk Domain:Ranet Rev.no.: 4 Vlan 10: engineer Domain:Ranet Rev.no.: “0” Vlan 20: sales Domain:Ranet Rev.no.: 1 4 Vlan 10: engineer VTP Frame Transparent VTP Client
Default คือ “1” (VTP V2 Mode: Disabled) • ห้ามเปลี่ยนเป็น “2” ถ้า Switch ในโดเมนไม่รองรับทุกตัว • สิ่งที่พัฒนาขึ้นใน VTP version 2 • Transparent Switch ส่งต่อ VTP frame ได้โดยไม่ขึ้นว่าเป็นเวอร์ชั่นเดียวกันหรือไม่ !!! • รองรับ LAN ที่ใช้โปรโตคอล Token Ring • สิ่งที่พัฒนาขึ้นใน VTP version 3 • รองรับ VLAN ID ในช่วงที่ไกลกว่า (Extended: 1006 – 4094) • ทำงานกับเวอร์ชั่น1 และ 2 ได้ • สามารถเข้าไปตั้งค่าการเป็นสมาชิก VLAN ของแต่ละพอร์ทได้ 8-7
ตั้งค่า vtp domain • เช่น switch(config)# vtp domain Ranet • ตั้งค่า vtp version (ได้ 1-3 แล้วแต่สถานะ VTP version บนสวิตช์) • เช่น Switch(config)# vtp version 2 • ตั้งค่า vtp password (หรือไม่ก็ได้ ถ้าตั้งต้องตั้งเองหมดทุกสวิตช์) • เช่น switch(config)# vtp password Ranetvtppass • ทวนสอบการตั้งค่าด้วยคำสั่ง show vtp status • เช่น switch# show vtp status 8-8
การนำ Switch ที่มี Rev.no. สูงกว่าบนโดเมนเดิมมาเชื่อมต่อ อาจไปทำลายฐานข้อมูล VLAN เดิมบนโดเมนได้ (เพราะเป็นโหมด Server โดย Default) • ดังนั้นก่อนนำมาเชื่อมต่อ ต้อง: • รีเซ็ตRev.no. โดยเปลี่ยนโหมดเป็น Transparentหรือ • ตั้งค่า VTP password ในโดเมน ซึ่งต้องตั้งเองบน Switch ทุกตัว!หรือ • เปลี่ยนโดเมนเป็นชื่ออื่นก่อน 8-9
Server กระจายคำสั่ง Pruning Switch ในโดเมนส่งข้อมูล Active VLAN ให้เพื่อนบ้าน VTP Client แล้วจึงเลือกปิดการสื่อสาร VLAN ที่ไม่ใช้งานบน Trunk Bandwidth บน Trunk จึงถูกใช้อย่างคุ้มค่า VTP Client • ฟีเจอร์นี้ใช้ลดการใช้แบนด์วิธบน Trunk ด้วยการปิด (Prune) การสื่อสารของ VLAN ที่ไม่มีการใช้งานบนสวิตช์ฝั่งตรงข้าม (Inactive) VTP SERVER 8-10
ตั้งค่า vtp pruning บนสวิตช์ที่เป็นโหมด “Server” • เช่น switch(config)# vtp pruning • ทวนสอบการตั้งค่าด้วยคำสั่ง show vtp status • เช่น switch# show vtp status • ตรวจดูรายการ VLAN ที่โดน Prune บน Trunk ด้วยคำสั่ง show interface trunk Router Console Switch#sh interfaces trunk Port Mode Encapsulation Status Native vlan Fa0/1 on 802.1q trunking 1 Port Vlans allowed on trunk Fa0/1 1-1005 Port Vlans allowed and active in management domain Fa0/1 1,30,40,50 Port Vlans in spanning tree forwarding state and not pruned Fa0/1 1,30,50 8-11