500 likes | 949 Views
บทที่ 2 แบบจำลองเศรษฐกิจ มห ภาคของสำนักคลาส สิค : Classical Economics School. ดุลยภาพตลาด. Aggregate demand: Aggregate supply: Equilibrium:. รายได้ประชาชาติ. ผลตอบแทนแก่ทุน. ผลตอบแทนแก่แรงงาน. การหาขนาดรายได้. รายได้แรงงาน =. ผลตอบแทนแก่ทุน =.
E N D
บทที่ 2แบบจำลองเศรษฐกิจมหภาคของสำนักคลาสสิค: Classical Economics School
ดุลยภาพตลาด • Aggregate demand: • Aggregate supply: • Equilibrium:
รายได้ประชาชาติ ผลตอบแทนแก่ทุน ผลตอบแทนแก่แรงงาน การหาขนาดรายได้ รายได้แรงงาน = ผลตอบแทนแก่ทุน = ถ้าสมการการผลิตมี constant returns to scale ดังนั้น
หลักการแนวคิดของสำนักคลาสสิคหลักการแนวคิดของสำนักคลาสสิค หลักการใหญ่คือ มีความเชื่อในเรื่องการปรับตัวโดยธรรมชาติของตลาดเพื่อรักษาดุลยภาพการจ้างงานเต็มที่(Actual output = Potential Output) ต้นกำเนิดของสำนักคลาสสิค คือการออกมาเสนอความคิดขัดแย้งกับแนวคิดของ สำนักพาณิชย์นิยม (Mercantilism)—ศตวรรษที่ 16-17 ที่เชื่อในเรื่องการสะสมความมั่งคั่งของประเทศที่จะเป็นการนำไปสู่การพัฒนา
ความเชื่อของสำนักพาณิชย์นิยมความเชื่อของสำนักพาณิชย์นิยม • Bullionism: ความเชื่อที่ว่าความมั่งคั่งและพลังงานของชาติมาจากการสะสมธาตุหรือสินทรัพย์มีค่า เช่น เงิน ทองที่เชื่อว่าความมั่งคั่งของประเทศเกิดจากการสะสมทุนจากทรัพย์สินมีค่าต่างๆ เพื่อนำมาสร้างสินค้าและทำให้ต้องส่งออก มากกว่าการนำเข้า เพื่อให้ได้สินทรัพย์เพิ่มขึ้น • มีความเชื่อในบทบาทของรัฐในการพัฒนาไปสู่ระบบทุนนิยม ข้อโต้แย้งของสำนักคลาสสิค • เชื่อว่าปัจจัยที่แท้จริง (Real Factors) เป็นตัวกำหนดความมั่งคั่งของชาติ (Wealth of Nations) และเงินเป็นเพียงสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน • เชื่อในบทบาทของตลาดเสรี และไม่ไว้วางใจบทบาทของรัฐบาล ระบบตลาดทำหน้าที่ในการกระจายสินค้าที่ผลิตสินค้า ปริมาณสินค้าที่ผลิตจะสร้างความต้องการของตัวเอง (Say’s Law)
หลักความคิดของสำนักคลาสสิคหลักความคิดของสำนักคลาสสิค • เน้นบทบาทของปัจจัยที่แท้จริง (มากกว่าปัจจัยที่เป็นตัวเงิน) ในการกำหนดตัวแปรแท้จริง คือปัจจัยการผลิต เทคโนโลยี เป็นต้น • ให้ความสำคัญการปรับตัวด้วยตนเองของระบบเศรษฐกิจ ดังนั้นนโยบายรัฐเป็นสิ่งที่ไม่จำเป็นและอาจเป็นผลเสียมากกว่าผลดีต่อระบบเศรษฐกิจ Aggregate Demand and Supply - ศึกษาวิเคราะห์การกำหนดระดับราคาโดยทั่วไป(เงินเฟ้อ) และ ระดับรายได้ในระบบเศรษฐกิจ - ในระบบเศรษฐกิจของสำนักคลาสสิค จะวิเคราะห์บทบาทของเงินในการกำหนด AD ซึ่งมีผลต่อการกำหนดระดับราคาเท่านั้น การผลิตAggregate Supply เงิน Money Aggregate Demand P
การผลิต (Production) • เป็นการสรุปความสัมพันธ์ผลผลิตกับการใช้ปัจจัยการผลิตต่างๆ • Y = F(K, N) โดย Y = ผลผลิต (output) K = จำนวนปัจจัยทุน (Stock of Capital) N = จำนวนแรงงานที่มีความเหมือนกันทั้งหมด (homogeneous Labor inputs) ในระยะสั้น K จะคงที่ การเพิ่มผลผลิตจะขึ้นกับจำนวนแรงงานเท่านั้น (มีจำนวนประชากรคงที่) ทั้งนี้ MPN (Marginal Product of Labor) จะมีแบบ diminishing return
การจ้างงาน Employment • ถือเป็นหัวใจหลักของสำนักคลาสสิค • โดยดุลยภาพกำหนดจาก demand and Supply of Labor • ข้อสมมุติสำคัญคือ ทุกๆ ฝ่ายมีข้อมูลที่สมบูรณ์ (Perfect Information) เกี่ยวกับราคา • ไม่มีข้อจำกัดในการปรับค่าจ้างที่เป็นตัวเงิน (Money Wages) ที่จะทำให้ตลาดได้ดุลยภาพ
อุปสงค์ของแรงงาน Labor Demand • ผู้จ้างงานคือ Firm ที่เป็นการแข่งขันสมบูรณ์ (perfect competition) มุ่งแสวงหากำไรสูงสุด ที่กำหนดระดับการจ้างงานที่เหมาะสม • โดยในระยะสั้นกำไรสูงสุดกำหนดจาก MC = MR • โดย MR = P (ระดับราคา) และ • MC = W/MPNi; (i = firms) เพราะแรงงานเป็นปัจจัยชนิดเดียวที่เปลี่ยนแปลงได้ MC จึงเป็นต้นทุนส่วนเพิ่มชนิดเดียวจากการจ้างงานเพิ่มขึ้น หนึ่ง หน่วยเพราะ MC = ค่าจ้างส่วนเพิ่ม/ผลผลิตส่วนเพิ่ม => W/MPNi
เงื่อนไขกำไรสูงสุด • จาก MR = MC • ดังนั้น จะได้ ความต้องการจ้างงานจะขึ้นกับค่าจ้างที่แทนจริง (Real Wage) เท่านั้น
สมการอุปสงค์แรงงานมวลรวม (Aggregate labor Demand) ความหมายคือการเพิ่มของค่าจ้างที่แทนจริงทำให้ความต้องการจ้างงานลดน้อยลง แต่เพราะว่าเงื่อนไข ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่า อุปสงค์การจ้างแรงงานคือ Nd = MPN*P = W
Y F(K, N) ผลผลิตส่วนเพิ่มของแรงงาน (marginal product of labor: MPN) Y1 Y0 ในระยะสั้น ผลผลิตขึ้นอยู่กับ จำนวนแรงงาน N N0 N1 MPN ตลาดแรงงาน Supply Demand N MPN
W/P, MPN เส้น MPN เป็น เส้น demand for labor N N2 N1 MPNi w, MPN*P เส้น MPN เป็น เส้น demand for labor ในหน่วยของตัวเงิน W2 = MPN2*P W1 = MPN1*P N N2 N1 MPNi .P
อุปทานการจ้างงาน (Supply of Labor) • ขึ้นกับการตัดสินใจของแรงงานแต่ละคนที่คำนึงผลตอบแทนที่แท้จริง (Real Wage) Income-Leisure trade-off W/P SL (W/P=4) (4*24=96) 4 C C (W/P=3) 3*24=72) B 3 B 2 (W/P=2) 2*24=48) A A 6 9 8 Hr work/day 15 16 18 24 Hrs
คุณลักษณะของอุปทานแรงงานคุณลักษณะของอุปทานแรงงาน 1) ค่าจ้างที่แรงงานคำนึงถึงในการตัดสินใจขายแรงงานคือ ค่าจ้างที่แท้จริง เนื่องจากความพอใจของแรงงานเกิดจากรายได้ที่นำไปใช้ซื้อสินค้าเพื่อบริโภค ซึ่งค่าจ้างที่แท้จริงเพิ่มขึ้น ทำให้การพักผ่อนลดลง และ การทำงานเพิ่มขึ้น ค่าจ้างที่เป็นตัวเงิน (W) ค่าจ้างที่แท้จริงถูกกำหนดจาก ระดับราคา (P) 2) เส้นอุปทานแรงงานมีความชันเป็นบวก คือเมื่อค่าจ้างที่แท้จริงสูงขึ้นแรงงานจะทำงานมากขึ้น เนื่องจากค่าจ้างแท้จริง เป็นราคาของการพักผ่อน ค่าจ้างที่สูงขึ้นจึงพักผ่อนน้อยลง ทำงานมากขึ้นเป็นผลจาก substitution effect ที่ทดแทนการพักผ่อนด้วยการทำงานมากขึ้นที่ระดับรายได้ที่แท้จริงสูงมากๆ คนงานอาจจะต้องการการพักผ่อนมากขึ้น income effect
ปัจจัยที่กำหนดระดับผลผลิตและการจ้างงานปัจจัยที่กำหนดระดับผลผลิตและการจ้างงาน ในแบบจำลองของสำนักคลาสสิค ปัจจัยที่กำหนดระดับผลผลิตและการจ้างงาน คือปัจจัยที่กำหนด ขนาดประชากร การเปลี่ยนแปลงความพึงพอใจ • อุปทานแรงงาน - อุปสงค์แรงงาน Productivity of labor เปลี่ยน เทคโนโลยี สต็อกทุน เทคโนโลยี • ฟังก์ชั่นการผลิตรวม สต็อกทุน ต้นทุนการผลิต สรุป ในแบบจำลองสำนักคลาสสิค ระดับผลผลิตถูกกำหนดจากปัจจัยด้านอุปทานเพียงอย่างเดียว
ดุลยภาพของตลาดแรงงานและผลผลิตEquilibrium Output and Employment Y = F (K, N) อุปสงค์การจ้างงาน จะพบว่าเงื่อนไขดุลยภาพอยู่ในรูปของค่าจ้างที่แท้จริง (W/P) อุปทานของแรงงาน Nd = Ns เงื่อนไขดุลยภาพ
W/P Ns A Nd N (ระดับการจ้างงาน) N0 Y Y = F(K, N) Y0 N0 N (ระดับการจ้างงาน)
W/P Ns = g(W/P) = = A Nd = MPN= f(W/P) N (ระดับการจ้างงาน) N0 W Ns(3P1) Ns(2P1) 3W1 Ns(P1) Money wage 2W1 (MPN*3P1) W1 (MPN*2P1) (MPN*P1) N0 N (ระดับการจ้างงาน)
ปัจจัยกำหนดการจ้างงานและผลผลิตปัจจัยกำหนดการจ้างงานและผลผลิต • เทคโนโลยี หรือเป็นปัจจัยที่มาจากด้านอุปทาน เพียงอย่างเดียวเท่านั้น P Ys Classical Aggregate Supply 3P1 2P1 P1 Y Y0
ตัวอย่างปัจจัยด้านอุปทานที่ทำให้ผลผลิตที่แท้จริงเปลี่ยนตัวอย่างปัจจัยด้านอุปทานที่ทำให้ผลผลิตที่แท้จริงเปลี่ยน 1) เทคโนโลยีการผลิตดีขึ้น Y AS0 Y=F(K,T1) AS1 P Y1 Y=F(K,T0) Y0 P0 P1 N w/P AD Ns Y Y0 Y1 (w/P)1 (w/P)0 MPN1 =Nd1 MPN0 =Nd0 N0 N1 N
Y=F(K,oil p) 2) ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น เช่น ราคาน้ำมันในตลาดโลกสูงขึ้น Y AS1 Y=F(K) AS0 P Y0 Y1 P1 P0 N w/P AD Ns Y Y1 Y0 (w/P)0 (w/P)1 MPN0 =Nd0 MPN1 =Nd1 N1 N0 N
3) ประชากรเพิ่มขึ้น Y AS0 AS1 P Y1 Y=F(N) Y0 P0 P1 N w/P AD Ns0 Y Ns1 Y0 Y1 (w/P)0 (w/P)1 MPN0 =Nd0 N0 N1 N
ทฤษฎีการกำหนดอุปสงค์มวลรวมของคลาสสิคทฤษฎีการกำหนดอุปสงค์มวลรวมของคลาสสิค
Fisher Equation: MVT = PTT โดยที่ M : ปริมาณเงิน VT:transaction velocity of money PT : ดัชนีราคาของสินค้าที่ซื้อขาย T : ปริมาณธุรกรรม (transaction) ทฤษฎีปริมาณเงิน (Quantity Theory of Money) สมการของการแลกเปลี่ยน (The Equation of Exchange) ปริมาณธุรกรรม ณ ระดับราคาคงที่ เท่ากับ ปริมาณเงิน X อัตราการหมุนเวียน (เป็นการแลกเปลี่ยนที่ก่อให้เกิดการส่งต่อของเงินระหว่างการแลกเปลี่ยน) อัตราการหมุนเวียน (Turnover rate) จำนวนครั้งเฉลี่ยของธุรกรรมที่เงินแต่ละบาทถูกใช้ไปในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง เรียกว่า “Velocity of Money” VT=PTT/M ซื้อขายสินค้าใหม่ สินค้าที่เคยซื้อขายแล้ว สินทรัพย์ทางการเงิน
Y : รายได้แท้จริง เป็นตัววัดกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งสำนักคลาสสิคเชื่อว่าถูกกำหนดมาจาก ด้านอุปทาน ซึ่งในระยะสั้นคงที่ ( Y ) V: ถูกกำหนดจากนิสัยการจ่ายเงิน และเทคโนโลยีการจ่ายเงิน (ปัจจัยด้านสถาบัน) ซึ่งจะคงที่ในระยะสั้น ( V ) เน้นธุรกรรมที่ก่อให้เกิดรายได้ (Income transaction) MV =PY โดยที่ M : ปริมาณเงิน V:income velocity of money P : ดัชนีราคาของสินค้าที่ผลิตในปัจจุบัน Y : ระดับผลผลิตแท้จริง Irving Fisher กล่าวว่า: ตัวแปรต่างๆ (ยกเว้น ราคา) ถูกกำหนดจากเหตุผลอื่นๆ เช่นพฤติกรรมการบริโภคของประชาชน เป็นต้น M: ถูกกำหนดมาจากผู้ดำเนินนโยบายการเงิน ปริมาณเงิน เป็นตัวกำหนด ราคา
ทฤษฎีปริมาณเงินตามแนวคิดของเคมบริดจ์ (Cambridge Approach) - เนื่องจากคำอธิบายทฤษฎีปริมาณเงินดั้งเดิมนั้นค่อนข้างเป็นกลไก ดังนั้นนักเศรษฐศาสตร์สำนัก Cambridge (อาทิ Alfred Marshall, A. C. Pigou) ได้เสนอคำอธิบายที่มีพื้นฐานจากกระบวนการตัดสินใจถือเงินของคน (อธิบาย การเปลี่ยนแปลงปริมาณเงินที่มีต่อระดับราคา) - การตัดสินใจถือเงินของบุคคล: ถือเงินเพื่อความสะดวกสบายในการจับจ่ายและหลีกเลี่ยงปัญหาการขาดสภาพคล่อง - สมมุติให้ ความต้องการถือเงินเป็นสัดส่วนกับรายได้: Md=kPY ที่ดุลยภาพ money supply=money demand;M=Md=kPY M*(1/k)=PY หากมอง (1/k) เปรียบเสมือน V เราจะเห็นว่า สมการดังกล่าวเหมือนกับกรณีข้างต้นที่ได้กล่าวมาแล้ว
แนวคิดของเคมบริดจ์นำไปสู่ทฤษฎีการเงินสมัยใหม่เพราะตอบคำถามว่าปริมาณเงินมีผลอย่างไรต่อระดับราคา นำไปสู่ ทฤษฎีความต้องการถือเงิน (Theory of the Demand for money) ณ ระดับที่มีดุลยภาพ การเพิ่มขึ้นของปริมาณเงินทำให้เกิดอุปทานเงินส่วนเกิน (Excess Supply of money) บุคคลจะพยายามลดการถือเงินตามระดับการบริโภคหรือลงทุน (Md = kPY) โดยการบริโภคมากขึ้นทำให้เกิดความต้องการ บริโภคมากขึ้น ซึ่งนำไปสู่การเพิ่มขึ้นของระดับราคา หากผลผลิตยังอยู่คงที่ เป็นการให้ความสำคัญกับ Demand for Money ที่แสดงความสัมพันธ์ ระหว่างเงินกับระดับราคา
อุปสงค์มวลรวมของสำนักคลาสสิค (Classical AD) - ทฤษฎีปริมาณเงินเป็นทฤษฎีที่ใช้สร้างอุปสงค์มวลรวมโดยปริยาย(หรือเป็นเพียงนัยยะเท่านั้น) – Implicit theory of Aggregate Demand - จากทฤษฎีปริมาณเงิน MV=PY หรือ M=kPY โดย k = 1/V สมมุติให้ในระยะสั้น V คงที่ (ตัวอย่าง เช่น V=4) P ถ้า ปริมาณเงินในเศรษฐกิจเท่ากับ 300 (M=300) • จากทฤษฎีปริมาณเงิน MV=PY, รายได้ในรูปตัวเงิน(PY)จะเท่ากับ 1200 บาท(MV=300X4) • เราสามารถสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง P และ Y 4 3 -- ถ้า P=2 แล้ว Y=600 บาท 2 AD -- ถ้า P=3 แล้ว Y=400 บาท -- ถ้า P=4 แล้ว Y=300 บาท Y 400 600 300
ถ้าปริมาณเงินเพิ่มขึ้นถ้าปริมาณเงินเพิ่มขึ้น P M=400 MV=400 x 4 =1600 =PY - P= 2, Y=800 โดยYd(M) = AD - P= 3, Y= 533.33 4 - P= 4, Y=400 3 AD(M=400) 2 ปริมาณเงินเพิ่มขึ้น ทำให้ AD shift ขวา AD(M=300) Y 533 800 300 400 600
AS P AD(M2) AD(M1) P3 AD(M3) P2 P1 Y การกำหนดผลผลิตและราคาในแบบจำลอง สำนักคลาสสิค (เมื่อนำอุปทานและอุปสงค์พิจารณาพร้อมกัน) -ปริมาณเงินที่เพิ่มขึ้น ทำให้ AD shift ขวา -เนื่องจาก AS ตั้งฉากทำให้ ผลผลิตไม่เปลี่ยนแปลงจากการเพิ่ม AD, มีเพียงราคาที่สูงขึ้น
กลไกปรับตัวเพื่อให้ได้ดุลยภาพของคลาสสิค(ดอกเบี้ย)กลไกปรับตัวเพื่อให้ได้ดุลยภาพของคลาสสิค(ดอกเบี้ย)
ทฤษฎีอัตราดอกเบี้ยของสำนักคลาสสิคทฤษฎีอัตราดอกเบี้ยของสำนักคลาสสิค • ส่วนประกอบต่างๆในความต้องการสินค้า ทั้งจากการบริโภค การใช้จ่ายรัฐบาล การลงทุน เป็นตัวกำหนดอัตราดอกเบี้ยดุลยภาพ (อย่างเป็นนัยยะ:Implicit factor) ในแบบจำลองของสำนักคลาสสิค • การเปลี่ยนแปลงในส่วนประกอบใดๆ ที่มาจากด้าน AD จะไม่มีผลกระทบต่อระดับ AD เพราะอัตราดอกเบี้ยจะเป็นตัวปรับให้กลับมาสู่ดุลยภาพเดิม
ทฤษฎีอัตราดอกเบี้ยของสำนักคลาสสิคทฤษฎีอัตราดอกเบี้ยของสำนักคลาสสิค บทบาทหน้าที่อัตราดอกเบี้ยเป็นกลไกปรับระบบเศรษฐกิจให้ได้ดุลยภาพ ที่เป็น Stabilizer คือป้องความผันผวนจากด้านอุปสงค์มวลรวม (Aggregate Demand) อัตราดอกเบี้ยดุลยภาพ คือ อัตราดอกเบี้ยที่ปริมาณเงินที่ให้กู้ (supply of loanable funds) เท่ากับ ปริมาณเงินที่มีความต้องการกู้ (demand for loanable funds) ซึ่งหมายความว่าอัตราดอกเบี้ยในตลาดไม่ได้ถูกกำหนดจากตลาดเงิน เหมือนกรณีทั่วไปที่เข้าใจ
กำหนดให้ ความต้องการกู้หรือความต้องการเงินจะทำโดยขายพันธบัตร เท่านั้น ในขณะที่ความต้องการให้กู้จะทำโดยซื้อพันธบัตร ดังนั้นอัตราดอกเบี้ย จะวัดด้วยผลตอบแทนจากการถือพันธบัตรซึ่งเท่ากับต้นทุนการกู้ยืม ทำให้ อัตราดอกเบี้ยขึ้นอยู่กับปัจจัยที่กำหนดคือ ความต้องการซื้อและขายพันธบัตร เพียงอย่างเดียว
ขึ้นกับการคาดการณ์ในการทำกำไรในอนาคตขึ้นกับการคาดการณ์ในการทำกำไรในอนาคต การลงทุน (I) ธุรกิจ อัตราดอกเบี้ย (แปรผกผัน เพราะเป็นต้นทุนการกู้ยืม) ผู้ขายพันธบัตร ถูกกำหนดจากรัฐบาล รัฐบาล ชดเชยการขาดดุล (G-T) เป็นตัวแปรจากภายนอก) ผู้มีเงินออม ออม (S)--แปรผันตามอัตราดอกเบี้ย ผู้ซื้อพันธบัตร • การออมเป็น การ trade-off ระหว่างการบริโภคในปัจจุบันและอนาคต • การถือเงินไม่ให้ผลตอบแทนใดๆ โดยที่พันธบัตรเป็น Store of Wealth • อัตราดอกเบี้ยในสำนักคลาสสิคถูกกำหนดในตลาดเงินกู้ยืม (Loanable Funds) • เงินออม Demand for bonds = Supply of loanable funds • การลงทุน + การขาดดุลการคลัง Supply of bonds = Demand of loanable funds
S = Supply of loanble funds I+(G-T)= Demand for loanable funds (G-T) I การกำหนดอัตราดอกเบี้ยในสำนักคลาสสิค r r0 LF0: S =I+G-T S, I, G-T ปริมาณเงินกู้ (loanble funds) อัตราดอกเบี้ยมีบทบาทในการรักษาเสถียรภาพของสำนักคลาสสิค
I S I0 I1 บทบาทของอัตราดอกเบี้ยในการรักษาเสถียรภาพ r - สมมุติให้ G=T (ไม่มีการกู้ยืมรัฐบาล) - การลดลงของความสามารถในการทำกำไร ทำให้ demand for LF shift ซ้าย r0 A B ที่ระดับ r0 supply of LF > demand for LF อัตราดอกเบี้ยดุลยภาพลดลง r1 ปริมาณเงินกู้ S1=I1 S0= I0 r S C(=S) ขนาดเท่ากับ A C+I ที่เพิ่ม เท่ากับ I ที่ลด (A+B) = I I(r) ขนาดเท่ากับ B การลดลงของการลงทุนไม่ทำให้ความต้องการรวมเปลี่ยนแปลง เนื่องจากการ ปรับตัวของอัตราดอกเบี้ย
สรุป • -การปรับตัวของอัตราดอกเบี้ยมีบทบาทสำคัญในการรักษาเสถียรภาพของระบบเศรษฐกิจ • การปรับตัวของอัตราดอกเบี้ย ถือเป็นปราการด่านแรก (first line of defense) ในการรักษาระดับการจ้างงานเต็มที่ ผลกระทบต่อความต้องการบริโภค การลงทุนหรือการใช้จ่ายภาครัฐ ไม่ส่งผลต่อความต้องการมวลรวม (AD ไม่ shift) • การปรับตัวในตลาดแรงงาน ถือเป็นปราการด่านที่สอง (second line of defense) ในการรักษาระดับการจ้างงานเต็มที่ซึ่งสะท้อนในเส้น AS ที่ตั้งฉาก
AD(Ms) นัยเชิงนโยบายของสำนักคลาสสิค นโยบายการเงิน -AD สร้างมาจาก Quantity Theory of Money -การเพิ่มปริมาณเงิน (นโยบายการเงินขยายตัว)ทำให้ AD shift ขวา P AS • มีผลกระทบต่อราคาเท่านั้น • เพราะ AS คงเดิม • สรุป นโยบายการเงิน มีผลต่อระดับราคาเท่านั้น และไม่มีผลต่อการจ้างงานและผลผลิตที่แท้จริงในระบบเศรษฐกิจ P1 P0 AD Y
นัยยะของนโยบายการคลังต่อการกระตุ้นเศรษฐกิจนัยยะของนโยบายการคลังต่อการกระตุ้นเศรษฐกิจ 1) การใช้จ่ายภาครัฐ (government spending) เก็บภาษี การชดเชย การเพิ่มการใช้จ่ายภาครัฐ ออกพันธบัตร พิมพ์เงิน • - เพื่อหลีกเลี่ยงการเปลี่ยนแปลงในนโยบายการเงินปริมาณเงินคงที่ • สมมุติให้ ภาษีคงที่ • ดังนั้น การเพิ่มการใช้จ่ายจะถูกชดเชยโดยการออกพันธบัตร • การเพิ่มการใช้จ่ายโดยชดเชยการขาดดุลด้วยการออกพันธบัตร ไม่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระดับผลผลิต(ส่งผลให้การจ้างงานคงที่) และระดับราคา (อุปสงค์มวลรวมไม่เปลี่ยนแปลง)
S B A B I การเพิ่มรายจ่ายภาครัฐ: ไม่ทำให้เกิดการเพิ่มขึ้นของการจ้างงาน ผลผลิตหรือราคา r - สมมุติให้เดิม G=T - การเพิ่มการการใช้จ่ายภาครัฐ ทำให้ เส้น demand for LF shift ขวา F (G-T)1 ที่ระดับ r0 demand for LF > supply of LF อัตราดอกเบี้ยดุลยภาพเพิ่มขึ้น r1 E r0 I+(G-T)1 ปริมาณเงินกู้ S0=I0 S1= I1+(G-T)1 r S C(=S) ขนาดเท่ากับ A C+I ที่ลด เท่ากับ Gที่เพิ่ม (A+B) = (G-T) I(r) ขนาดเท่ากับ B การเพิ่มใช้จ่ายภาครัฐ(G)ที่ชดเชยโดยการขายพันธบัตรทำให้อัตราดอกเบี้ยสูงขึ้น เบียดออก (Crowd out) การใช้จ่ายของเอกชน(C+I)ในปริมาณเท่ากัน
S (G-T)1 B A B I การลดภาษี (Demand side policy) r - การลดภาษี ทำให้ เส้น demand for LF shift ขวา(ขายพันธบัตรชดเชยรายได้ที่สูญเสียไป ที่ระดับ r0 demand for LF > supply of LF อัตราดอกเบี้ยดุลยภาพเพิ่มขึ้น r1 r0 I+(G-T)1 ปริมาณเงินกู้ S0=I0 S1= I1+(G-T)1 r S C(=S) ขนาดเท่ากับ A C+I ที่ลด เท่ากับ T ที่ลด (A+B) = (G-T) I(r) ขนาดเท่ากับ B ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงใน AD เกิด complete crowding out
การเปลี่ยนแปลงอัตราภาษีรายได้การเปลี่ยนแปลงอัตราภาษีรายได้ (Marginal Income Tax Rate) Supply Side Policy • ส่งผลกระทบต่อแรงจูงใจในการทำงาน เนื่องจากแรงงานจะพิจารณาค่าจ้างหลังหักภาษี --- Ns=g[(1-ty)(w/P)] • ดังนั้นเมื่อรัฐบาลลดอัตราภาษี ณ ระดับค่าจ้างที่แท้จริงเดิม คนงานจะมีความต้องการทำงานเพิ่มขึ้น เพราะรายได้ที่ได้รับจริงเพิ่มมากขึ้น ทำให้ความต้องการขายแรงงานมากขึ้น ทำให้ labor supply shift ขวา • สมมุติให้ อัตราภาษีลดลงจาก 40 % เป็น 20 %
ตัวอย่างการมีอัตราภาษีลดจาก 40% เป็น 20% Y AS0 AS1 P Y1 Y=F(N) Y0 P0 AD’ P1 N w/P AD Ns(ty = 0.4) Y Ns(ty = 0.2) Y0 Y1 (w/P)0 (ชดเชยภาษีที่ลดลงด้วยการกู้จาก ธนาคารกลาง) (w/P)1 สรุป การลดภาษีเงินได้มีผลต่อการทำงาน จะส่งผลต่อการจ้างงาน ผลผลิตและระดับราคา MPN0 =Nd0 N0 N1 N
S (G-T)1 B A B I ขายพันธบัตรให้ประชาชน r - การเพิ่มการใช้จ่ายภาครัฐ ทำให้ เส้น demand for LF shift ขวา ที่ระดับ r0 demand for LF > supply of LF อัตราดอกเบี้ยดุลยภาพเพิ่มขึ้น r1 r0 I+(G-T)1 ปริมาณเงินกู้ S0=I0 S1= I1+(G-T)1 C+I ที่ลด เท่ากับ Gที่เพิ่ม (A+B) = (G-T) r S C(=S) ขนาดเท่ากับ A I(r) ขนาดเท่ากับ B สรุป การปรับตัวของอัตราดอกเบี้ยทำให้ความต้องการใช้จ่ายของเอกชน (C, I) ลดลง เกิดผลหักล้างต่อรายจ่ายของรัฐบาลที่เพิ่มขึ้น
การหักล้างผลของนโยบายการคลัง (Crowding out) ทำให้ aggregate demand ไม่เปลี่ยนแปลงระดับราคาไม่เปลี่ยนแปลง • การชดเชยการขาดดุลด้วยวิธีอื่น • การพิมพ์เงิน – ทำให้ปริมาณเงินเพิ่ม AD shift ขวา ส่งผลให้ระดับราคาสูงขึ้น • การเพิ่มภาษี • G=T; balance budget multiplier • -ไม่มีผลต่อ demand for LF • - การเก็บภาษีทำให้ supply of LF ลดเพราะคนเอาเงินออมส่วนหนึ่งไปจ่ายภาษี • - r ปรับตัวสูงขึ้น S’ r S r1 r0 I QLF C S C S r G(=T) I
AD(Ms จาก G ) กู้จากธนาคารกลาง • ไม่กระทบ demand และ supply ใน loanable funds market • การกู้จากธนาคารกลาง ทำให้ปริมาณเงินเพิ่ม ส่งผลกระทบต่อ AD P P1 P0 AD Y
สรุป • สำนักคลาสสิค เสนอให้รัฐไม่ดำเนินนโยบายเพื่อแทรกแซงระบบเศรษฐกิจ (non-interventionist policy) เนื่องจาก • ถ้ารัฐบาลใช้นโยบายการเงิน จะมีผลต่อระดับราคาเท่านั้น • ถ้ารัฐบาลใช้นโยบายการคลัง จะเกิดการหักล้างผลของนโยบายการคลังโดยสมบูรณ์ (complete crowding out) จากการปรับตัวของอัตราดอกเบี้ย