1 / 12

CKD Guideline จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

CKD Guideline จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. พญ.ธิติยา พัววิไล 27-09-11. การป้องกันโรคไตเรื้อรัง. การป้องกันระดับปฐมภูมิ ( Primary prevention) ป้องกันไม่ให้เกิดโรค เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง พิษจากยา การป้องกันระดับทุติยภูมิ ( Secondary prevention)

cirila
Download Presentation

CKD Guideline จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. CKD Guideline จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พญ.ธิติยา พัววิไล 27-09-11

  2. การป้องกันโรคไตเรื้อรังการป้องกันโรคไตเรื้อรัง • การป้องกันระดับปฐมภูมิ (Primary prevention) • ป้องกันไม่ให้เกิดโรค เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง พิษจากยา • การป้องกันระดับทุติยภูมิ (Secondary prevention) • ป้องกันไม่ให้โรคที่มีอยู่แล้วลุกลามจนมีภาวะไตเสื่อมหรือไตวาย เช่น การควบคุมเบาหวาน การควบคุมความดันโลหิต • การป้องกันระดับตติยภูมิ (Tertiary prevention ) • ป้องกันไม่ให้เสียชีวิตหรือพิการจากภาวะไตวาย ได้แก่ การบำบัดทดแทนไต (การฟอกเลือด การล้างไตทางช่องท้อง การปลูกถ่ายไต)

  3. ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเป็นโรคไตเรื้อรังผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเป็นโรคไตเรื้อรัง • โรคเบาหวาน • โรคความดันโลหิตสูง • โรคแพ้ภูมิตนเอง ที่อาจก่อให้เกิดไตผิดปกติ • โรคติดเชื้อในระบบที่อาจก่อให้เกิดโรคไต • โรคหัวใจและหลอดเลือด • โรคติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะซ้ำหลายครั้ง • ได้รับสารพิษหรือยาที่ทำลายไต • อายุ > 60 ปี • มีมวลเนื้อไตลดลง ทั้งที่เป็นมาแต่กำเนิดหรือเป็นภายหลัง • มีประวัติโรคไตเรื้อรังในครอบครัว • ตรวจพบนิ่วในไต

  4. การแบ่งระยะของโรคไตเรื้อรังการแบ่งระยะของโรคไตเรื้อรัง

  5. การติดตามระดับการทำงานของไตในโรคไตเรื้อรังการติดตามระดับการทำงานของไตในโรคไตเรื้อรัง • ควรมีการติดตามระดับการทำงานของไตโดยการตรวจค่า eGFRและการตรวจปัสสาวะ

  6. การชะลอไตเสื่อมในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง การชะลอไตเสื่อมในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง • ความดันโลหิต < 130/80 มม.ปรอท • เลือกใช้ยาลดความดันกลุ่ม ACE-I หรือ ARBควบคุมให้มี proteinuriaน้อยกว่า 0.5 กรัมต่อวัน • ระดับน้ำตาลในเลือด<130 มก.ต่อเดซิลิตร (HbA1C < 7 %) • หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงต่างๆเช่น หลีกเลี่ยงการใช้ยาแก้ปวดกระดูก, ยาหม้อ และสมุนไพร • ระดับไขมันในเลือดให้ระดับ LDL <100 มก.ต่อเดซิลิตรหรือ< 70 mg/dLในผู้ป่วยซึ่งมีหลักฐานว่ามีโรคหลอดเลือดหัวใจ หรือหลอดเลือดสมอง

  7. การควบคุมพฤติกรรมชีวิตการควบคุมพฤติกรรมชีวิต • งดสูบบุหรี่ • ควบคุมน้ำหนักตัวให้ BMI อยู่ในเกณฑ์ปกติ • ออกกำลังกายพอควร สม่ำเสมอ • การบริโภค • รับประทานโปรตีน หรือเนื้อสัตว์ ในสัดส่วนที่พอเหมาะ (0.6-0.8 กรัมต่อ นน.ตัวเป็นกิโลกรัมต่อวัน) • รับประทานอาหาร low salt เกลือโซเดียม 2 กรัม หรือ sodium chloride 5 กรัมต่อวัน • หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันอิ่มตัวสูง

  8. สาระสำคัญ CKD Guideline

  9. เป้าหมายของการรักษาเพื่อป้องกัน และชะลอการเสื่อมของโรคไตจากเบาหวาน

  10. Kidney Transplantation Guideline

More Related