330 likes | 443 Views
Department and Faculty Management: From Theory to Practices. รศ.ดร.มธุรส จงชัยกิจ / คุณอินทิรา ศรีคุณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มกราคม 2546. หัวข้อ ( TOPICS):. บทนำ - Introduction สองด้านของการบริหารจัดการ - Two A spects of Management
E N D
Department and Faculty Management: From Theory to Practices รศ.ดร.มธุรส จงชัยกิจ / คุณอินทิรา ศรีคุณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มกราคม 2546
หัวข้อ (TOPICS): • บทนำ - Introduction • สองด้านของการบริหารจัดการ -Two Aspects of Management • วางแผนนำสู่ความสำเร็จ - Planning for Success • พัฒนาคณะคู่กับบุคลากร - Faculty and Staff Development • สิ่งดีที่ควรเน้นปฏิบัติ - Practicing the Good Practice • อบรมครูแบบครูทำPedagogy - Based Training for Educators • กรณีตัวอย่าง - Two Cases of Good Management: Faculty & Department Dr.Maturos CHONGCHAIKIT
ทำไมถึงต้องบริหารจัดการให้ดียิ่งขึ้นทำไมถึงต้องบริหารจัดการให้ดียิ่งขึ้น • สิ่งที่สถาบันอุดมศึกษามีเป็นจุดเด่น และเป็นความหวังของผู้คน • ผู้คนจำนวนมากมุ่งการศึกษาต่อโดยเฉพาะผู้คนที่ได้ก้าวสู่โลกอาชีพ • สถาบันอุดมศึกษาคือกลุ่มคนที่มี ความพร้อมด้านเนื้อหา องค์ความรู้ และ เครื่องมือ สื่อ อุปกรณ์ นานาชนิด สามารถจัดการเรียนรู้ แบบตลอดชีวิตให้ แก่ผู้คนได้ • ความท้าทายอันเกิดจากระบบเศรษฐกิจรูปแบบใหม่ ๆ • การคิดทบทวน วางแผน เพื่อให้ได้ ระบบบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศที่มีศูนย์รวมเครือข่ายเพื่อการแก้ไขปัญหาต่างๆ จัดการธุรกิจ และ บริหารลำดับงานที่ดี ย่อมทำให้หน่วยงาน/สถาบันของเราพร้อม สำหรับสิ่งเหล่านี้ Dr.Maturos CHONGCHAIKIT
คณะ และ ภาควิชา: สองด้านของการจัดการFaculty MIS & Department MISSystem and Content
จากมหาวิทยาลัย สู่คณะ จากคณะสู่ภาควิชา และสาขา • MIS: Management of Information Systemหรือระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการสำหรับองค์กรทางการศึกษานั้น ความจริงประกอบด้วยสารสนเทศ 2 ลักษณะ คือ สารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ และ สารสนเทศเพื่อการเรียนการสอน • การก้าวเข้าสู่ความเป็น E - University ในปัจจุบัน นำไปสู่การจัดทำ E- Course ทำให้เกิดความต้องการจำเป็นในการพัฒนาระบบทั้งสองควบคู่กันไป โดยส่วนใหญ่มักแยกจากกัน โดยใช้เครื่องมือบริหารคนละตัว และอาจจะพัฒนาคู่กันไป แต่ สามารถมารวมกัน หรือ เชื่อมกันได้ ในที่สุด อย่างเช่น กรณีของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ Dr.Maturos CHONGCHAIKIT
ระบบสารสนเทศเพื่อการเรียนการสอน ถือได้ว่าเป็นส่วนสำคัญในการก้าวสู่ความเป็น E-University หรือ Virtual University, etc. • ทั้งนี้จุดเน้นของการจัดการศึกษาผ่านเครือข่ายสารสนเทศ และอินเทอร์เน็ต อยู่ที่การทบทวน จัดการกระบวนการทางการให้การศึกษาใหม่ทั้งหมด เริ่มตั้งแต่ เนื้อหารูปแบบการเรียนการสอนเทคโนโลยีที่ใช้ ไปจนถึงอุปกรณ์ สื่อ เครื่องมือ ซึ่งทั้งหมดต้องทำงานร่วมกัน อย่างสอดประสาน Dr.Maturos CHONGCHAIKIT
การวางแผนนำสู่ความสำเร็จPlanning for Success
การวางแผนทั้งเชิงกลยุทธ์ และ การเงิน • แผนควรสั้น อ่านง่าย และแจกจ่ายได้โดยทั่วถึง โดย • เริ่มในระดับหน่วยงานที่มี ให้มีส่วนร่วม และมีปฏิสัมพันธ์อย่าง สอดรับกับแผนและเป้าหมายทางไอที • สนับสนุนจัดหาแหล่งทุน ดำเนินการในเรื่องต่างๆ เช่น อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ ซอฟท์แวร์ เครือข่าย และบริการเสริมทั้งหมด • มีจุดเน้นด้านกำหนดเวลา และกลยุทธ์ที่ปรับใช้ข้ามสถาบัน /หลักสูตรได้ • ทำแผนนำร่องขนาดเล็ก เพื่อได้ต้นแบบ และซอฟท์แวร์ที่จะนำ ไปใช้ต่อไปทั้งหมด • มีการนำไปใช้และติดตามประเมินเทคโนโลยีและวิธีการทุกครั้ง Dr.Maturos CHONGCHAIKIT
การวางแผนทั้งเชิงกลยุทธ์ และ การเงิน ให้มีส่วนร่วม และมีปฏิสัมพันธ์ มีจุดเน้นด้านกำหนดเวลา และกลยุทธ์ สนับสนุนจัดหาแหล่งทุน ทำแผนนำร่องขนาดเล็ก มีการนำไปใช้และติดตามประเมิน Dr.Maturos CHONGCHAIKIT
คณะและบุคลากร: การเข้าใจองค์ประกอบของการเปลี่ยนแปลง • วางแผน • วิสัยทัศน์ • ดำเนินการ/จัดการ • กลุ่มคน • อุปสรรค • ประเมินผล • การประเมินในตอนท้าย Dr.Maturos CHONGCHAIKIT
วิสัยทัศน์ • การพัฒนาคณะ และ คน คือ บุคลากร เป็นการเปลี่ยนแปลงหลายระดับชั้น การกำหนดวิสัยทัศน์ จะทำให้เข้าใจว่าทำไมจึงต้องทำ และ เข้าใจในสิ่งที่เทคโนโลยีสามารถทำให้ได้ อีกด้วย • คณะมุ่งมองที่กระบวนการจัดการเรียนการสอน ที่ดียิ่งขึ้น ตลอดถึง การจัดทำงานวิจัย ต่างๆ • บุคลากรมี หน้าที่ บทบาทต่างๆ กัน ต้องชี้ให้มองเห็นในด้านของ การเพิ่มพูนผลผลิต และ/หรือ ประสิทธิภาพในส่วนงานของแต่ละคน Dr.Maturos CHONGCHAIKIT
กลุ่มคน / กลุ่มเป้าหมาย • Rogers 1983 แบ่งกลุ่มคนที่สนองตอบต่อเทคโนโลยีไว้ 5 ประเภท คือ Innovators - Early Adopters - Early Majority - Late Majority และ Laggards • การตั้งเป้าหมายในการพัฒนาคนไว้ที่ 2 ประเภทแรก คือ Innovatorsและ Early Adopters จะช่วยเร่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้ Dr.Maturos CHONGCHAIKIT
อุปสรรค • Kotter 1986 กล่าวถึงอุปสรรค 4 ประการ คือ • การขาดทักษะและความรู้ ที่นำไปสู่ความไม่เข้าใจวิธีปฏิบัติ • โครงสร้างของหน่วยงานเอง ที่อาจจะยังขาดอะไรบางอย่าง • ระบบข้อมูลที่ไม่ต้องการเปลี่ยน และบุคคลที่ไม่เข้าใจในสิ่งที่ทำกันอยู่ • การคิดทำ หรือ การปฏิบัติ ที่ถูกบล้อคไว้ หรือ ไม่ให้การสนับสนุน Dr.Maturos CHONGCHAIKIT
อุปสรรค • Grant 1996 จึงเน้นในสิ่งที่ คณะ และ บุคลากร ต้องการ คือ • วิสัยทัศน์ ที่ทำให้เข้าใจว่า เทคโนโลยี ทำอะไรได้บ้าง • เวลาและแหล่งความรู้ ที่พอเพียง ซอฟท์แวร์ และ ฮาร์ดแวร์ • ความรู้ และข้อมูลที่จำเป็น ต่อการจัดระบบ ดำเนินการและ บริหารข้อมูล ในบริบท ไฮเทคโนโลยี • การฝึกอบรม การนำเทคโนโลยี ไปสอนและควบคุมการเรียนรู้ ของผู้เรียน รวมทั้ง การอบรมด้านการบริหารจัดการองค์กร Dr.Maturos CHONGCHAIKIT
การประเมินในตอนท้าย • เป็นสิ่งจำเป็นยิ่ง ต่อการตรวจสอบเส้นทาง ดำเนินการ แก้ไขสิ่งบกพร่องจนถึงทำใหม่ในจุดต่างๆ สามารถ ประเมินได้หลายวิธี ด้วยเครื่องมือต่างๆ เช่น • แบบสอบถาม • แบบสังเกต • การสอบในรายวิชา ระหว่างเทอม แวนำมาปรับแก้ • สื่อเพื่อช่วยปรับ เพิ่มประสิทธิภาพ และปฏิสัมพันธ์ ตอบโต้ Dr.Maturos CHONGCHAIKIT
สิ่งดีที่ควรเน้นปฏิบัติสิ่งดีที่ควรเน้นปฏิบัติ เรียนอย่างมีส่วนร่วม ส่งเสริมการติดต่อ มีการร่วมมือ ตอบสนองกันและกัน เคารพในความแตกต่าง และหลากหลาย
Encourages Contact Between Student and Faculty. • การติดต่อกันระหว่าง ผู้เรียนกับคณะ ทั้งในและนอกห้องเรียน เป็นตัวแปรสำคัญที่กระตุ้นและก่อให้เกิด การมีส่วนร่วมของผู้เรียน • อบรม และ สร้างสถานการณ์ ให้เกิดการใช้งานจริง ระหว่าง คณะอาจารย์ ก่อนที่ เขาจะไปฝึกสร้าง ให้กับผู้เรียน • อาจเพิ่มช่องทาง การติดต่อสื่อสาร เช่น โทรศัพท์ และ อีเมล์ อีกด้วย Dr.Maturos CHONGCHAIKIT
Good Practices Uses Active Learning Techniques • เช่น ให้ฝึกปฏิบัติ พัฒนาคอร์สจริง โดยอาจเริ่มจาก Templates ไปพร้อมกันก่อนในการทำหน่วยแรกของคอร์ส • ฝึกใช้เครื่องมือสื่อสาร บนอินเทอร์เน็ต หลายๆ อย่าง • ให้ออกแบบคอร์สด้วยตนเอง แต่เน้นในเรื่อง การรวบรวมผู้คน และ การคำนึงถึงรูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลาย รวมทั้ง • วางจุดประสงค์คอร์ส • วางรูปแบบการประเมินผล • หัดใช้เครื่องมือ สื่อมัลติมีเดีย บทความหลายมิติ ที่เชื่อมโยงWWW ตลอดจนรูปแบบการอภิปรายแบบต่างเวลา สถานที่Asynchronous Dr.Maturos CHONGCHAIKIT
Develops Reciprocity and Cooperation among Students. • การร่วมมือกัน และตอบสนองกันและกันระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน แลระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน • การแบ่งปันความคิดกันและกัน และ ตอบโต้ความคิดผู้อื่น จะช่วยให้เข้าใจ ได้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น เกิดการพัฒนาทักษะการคิด • เกิดการเรียนรู้ รูปแบบการสอน และการเรียน แบบออนไลน์มากยิ่งขึ้น Dr.Maturos CHONGCHAIKIT
Good Practices Respects Diverse Talents and Ways of Learning • การให้โอกาสผู้เรียน แสดงออกในสิ่งที่เขาทำได้ และเรียนในแบบที่ต้องการ • เสริมสื่อหลากหลายรูปแบบแก่คณาจารย์ทั้งแบบออนไลน์ อิเล็กทรอนิกส์ และ แบบสิ่งพิมพ์ • ผลพบว่า สื่อ สิ่งพิมพ์ เป็นที่นิยมมากที่สุด เพราะเป็นการเริ่มจาก สิ่งที่ เราคุ้นเคย นั่นเอง Dr.Maturos CHONGCHAIKIT
สรุป • คือ เน้นการปฏิบัติ ที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลง ด้วยการป้อนประสบการณ์ตรง แก่ผู้สอน ที่ได้แก่ • การสื่อสารทั้งแบบ Synchronous และ Asynchronous • การบริหารงานและเวลา • การสอนแบบร่วมมือและช่วยกันทำงาน แบบจับคู่ หรือ เป็นกลุ่ม • การใช้ประโยชน์ จากสื่อมัลติมีเดีย • และ การประเมินติดตามผลแบบออนไลน์ Dr.Maturos CHONGCHAIKIT
กรณีตัวอย่าง: Department Showcase • การจัดหา Infrastructures • การฝึกอบรม Training • การจัดทำคอร์ส Course Provisions • WBT / WBL • WebCT : Classroom Support • Communication Tools Dr.Maturos CHONGCHAIKIT
จัดเตรียม Infrastructure และ จัดทำWebsite ภาควิชา Dr.Maturos CHONGCHAIKIT
จัดทำ TEMPLATE WEB Dr.Maturos CHONGCHAIKIT
อบรม การทำ WEBPAGE Dr.Maturos CHONGCHAIKIT
อบรม Classroom Support Dr.Maturos CHONGCHAIKIT
อบรม Communication Tools E-MAIL FORUM / WEBBOARD Dr.Maturos CHONGCHAIKIT
อบรมครูแบบครูทำPedagogy-Based Training for Educators
การวางเป้าหมาย ง่าย ๆ และ ธรรมดา • วางแผนให้ทำงานในหน้าที่ ที่เป็นเป้าหมายของคณะ/สถาบัน คือ • การดูแลการเรียน และผลสำเร็จของผู้เรียน • ดังนั้นสิ่งที่เน้นให้ครูศึกษาก็คือ การสอนโดยใช้เทคโนโลยีการศึกษาต่าง ๆ ให้เป็น Dr.Maturos CHONGCHAIKIT
การวางเป้าหมาย ง่าย ๆ และ ธรรมดา • มีจุดเน้นที่ ทักษะการคิดวิเคราะห์ อย่างมีวิจารณญานในงานของตน เพราะความสำเร็จของผู้เรียนขึ้นอยู่กับสิ่งนี้ อย่างมาก • ครูต้องเลือก คัดสรร ผสมผสาน และใช้งานเทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม Dr.Maturos CHONGCHAIKIT
การวางเป้าหมาย ง่าย ๆ และ ธรรมดา • เทคนิคการทำเป็นทีมเป็นวิธีที่ส่งผล ให้เกิดผลผลิตที่มี ประสิทธิภาพ ทันเวลา และ คุ้มค่ากับการลงทุน • รูปแบบฝึกอบรมที่ทำทั้งแบบเสมือนจริงคืออยู่ห่างกัน และ แบบเผชิญ หน้า นำไปสู่แนวทางการสอนแบบเน้นผู้เรียน ให้ครูเลียนแบบได้ Dr.Maturos CHONGCHAIKIT
References • Using Best Practices,Workflow, and Object Technologies to Improve Higher Education Management. available at http://ts.mivu.org • Practicing the Good Practice in Faculty Development. available at http://ts.mivu.org • Developping a Successful Information Technology Competency Strategy for Faculty and Staff. available at http://ts.mivu.org • Making Change Happen: Planning For Success. available at http://ts.mivu.org • http://search.ngfl.gov.uk/majordomo-html/ict-management/ict-management.archive.0012/msg00012.html Dr.Maturos CHONGCHAIKIT
กรณีตัวอย่าง: Faculty Showcase • Planning • Development • Implementation • Evaluation Dr.Maturos CHONGCHAIKIT