280 likes | 500 Views
รายวิชา 204215 การจัดการบริการสารสนเทศ หน่วยที่ 9 ความร่วมมือในการบริการสารสนเทศ. โดย อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข. 9 . ความร่วมมือในการบริการสารสนเทศ. 9 .1 ความหมาย แนวคิดและพัฒนาการของความร่วมมือในการบริการสารสนเทศ 9 .2 ลักษณะของความร่วมมือในการบริการสารสนเทศ
E N D
รายวิชา 204215การจัดการบริการสารสนเทศ หน่วยที่ 9 ความร่วมมือในการบริการสารสนเทศ โดย อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
9. ความร่วมมือในการบริการสารสนเทศ 9.1 ความหมาย แนวคิดและพัฒนาการของความร่วมมือในการบริการสารสนเทศ 9.2 ลักษณะของความร่วมมือในการบริการสารสนเทศ 9.3 ระดับของความร่วมมือในการบริการสารสนเทศ 9.4 ปัจจัยแห่งความสำเร็จของความร่วมมือในการบริการสารสนเทศ
9.1 ความหมาย แนวคิดและพัฒนาการของ ความร่วมมือในการบริการสารสนเทศ 9.1.1ความหมายของความร่วมมือในการบริการสารสนเทศ 9.1.2 แนวคิดของความร่วมมือในการบริการสารสนเทศ 9.1.3 พัฒนาการของความร่วมมือในการบริการสารสนเทศ
9.1.1ความหมายของความร่วมมือในการบริการสารสนเทศ9.1.1ความหมายของความร่วมมือในการบริการสารสนเทศ • เป็นการดำเนินกิจกรรมร่วมกันระหว่างองค์การสารสนเทศตั้งแต่ 2 แห่งขึ้นไป • มีเป้าหมายในการแลกเปลี่ยนสารสนเทศ หรือทรัพยากรสารสนเทศ
9.1.1ความหมายของความร่วมมือในการบริการสารสนเทศ9.1.1ความหมายของความร่วมมือในการบริการสารสนเทศ • เป็นยุทธวิธีที่มีเป้าหมายและการวางแผน เพื่อการสร้างสัมพันธภาพและบริการร่วมกัน • เปลี่ยนจากการเน้นความเป็นเจ้าของทรัพยากรสารสนเทศไปสู่การใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกัน • ส่งเสริมการเข้าถึงสารสนเทศของผู้ใช้อย่างกว้างขวาง
9.1.2 แนวคิดของความร่วมมือในการบริการสารสนเทศ • ถือว่าทรัพยากรสารสนเทศสามารถแบ่งปันกันได้ • ใช้สารสนเทศให้เกิดประโยชน์สูงสุดและกว้างขวางที่สุด เพื่อให้เกิดความเท่าเทียมกันในการเข้าถึงสารสนเทศของมนุษย์ทุกคน • นำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาช่วยการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ
9.1.3 พัฒนาการของความร่วมมือในการบริการสารสนเทศ • ต่างประเทศ • ช่วงทศวรรษที่ 1960 จัดตั้ง “เครือข่ายห้องสมุด” เนื่องจากสภาพการณ์การท่วมท้นของสารสนเทศ • ช่วงทศวรรษที่ 1990 จัดตั้ง “ภาคีห้องสมุด” เพื่อการต่อรองกับผู้จัดจำหน่ายสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ • เรื่องราคาและเงื่อนไงการใช้
9.1.3 พัฒนาการของความร่วมมือในการบริการสารสนเทศ • 2) ในประเทศ • พ.ศ. 2510 – โครงการ Thai University • Library Project Book Program • พ.ศ. 2519 – จัดตั้งชมรมบรรณารักษ์ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา • พ.ศ. 2528 – จัดตั้งระบบสารนิเทศแห่งชาติ และ • ชมรมห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาเอกชน
9.1.3 พัฒนาการของความร่วมมือในการบริการสารสนเทศ • พ.ศ. 2529 – จัดตั้งข่ายงานห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค • พ.ศ. 2536 – ดำเนินโครงการพัฒนาระบบห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนกลาง ซึ่งต่อมาได้พัฒนาไปเป็นโครงการพัฒนาเครือข่ายห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS)
9.2 ลักษณะของความร่วมมือในการบริการสารสนเทศ • 9.2.1 ความร่วมมือในการบริการสารสนเทศอย่างเป็นทางการ: • เป็นการตกลงร่วมมือกันโดยมีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร • ข้อตกลง (Agreement) • ข้อตกลงอย่างเป็นทางการ (Formal Agreement) • สำหรับเครือข่ายและภาคี • บันทึกเพื่อความเข้าใจร่วมกัน (Memorandum of Understanding - MOU)
9.2 ลักษณะของความร่วมมือในการบริการสารสนเทศ • 9.2.2 ความร่วมมือในการบริการสารสนเทศอย่างไม่เป็นทางการ • เป็นการริเริ่มและแสดงเจตจำนงร่วมกันของผู้บริหารองค์การสารสนเทศ หรือผู้บริหารองค์การต้นสังกัด • ผู้บริหารดูแลเชิงนโยบายในรูปคณะกรรมการอำนวยการ • ไม่มีบุคลากรประจำ ใช้วิธีแบ่งงานกันทำในรูปคณะทำงาน • ใช้ทรัพย์สินร่วมกันตามประเภทกิจกรรม เวลา โอกาส และสถานที่
9.3 ระดับของความร่วมมือในงานบริการสารสนเทศ . 9.3.1 ความร่วมมือระดับท้องถิ่น (Local Level) 9.3.2 ความร่วมมือระดับภูมิภาค (Regional Level) 9.3.3 ความร่วมมือระดับชาติ (National Level) 9.3.4 ความร่วมมือระดับนานาชาติ (International Level)
9.3.1 ความร่วมมือระดับท้องถิ่น (Local Level) • 1) เป็นความร่วมมือระหว่างสถาบันบริการสารสนเทศที่ตั้งอยู่ ในท้องถิ่นเดียวกัน • 2) ตัวอย่าง • เครือข่ายสารสนเทศนครราชสีมา (NARINET) • เครือข่ายห้องสมุดจังหวัดอุบลราชธานี • เครือข่ายสารสนเทศนครศรีธรรมราช (LIGORNET)
9.3.1 ความร่วมมือระดับท้องถิ่น (Local Level) • เครือข่ายห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา จังหวัดชลบุรี • Illinois Library and Information Network • (ILLINET) • Nort East Florida library Information Network (NEFLIN) • The Ohio Library and Information Network (OhioLINK)
9.3.2 ความร่วมมือระดับชาติ (National Level) • เป็นความร่วมมือของสถาบันบริการสารสนเทศประเภทเดียวกันหรือสาขาวิชาเดียวกันที่ตกลงดำเนินงานร่วมกันอย่างกว้างขวางทั่วประเทศ • ตัวอย่าง – ข่ายงานห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค (PULINET) • เครือข่ายห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาเอกชน
9.3.2 ความร่วมมือระดับชาติ (National Level) • เครือข่ายห้องสมุดแพทย์แห่งชาติ (The National Network of Libraries of Medicine- NN/LM) • เครือข่ายห้องสมุดวิจัยเพื่อการศึกษาวิชาทหาร (Military Education Research Library Network)
9.3.3ความร่วมมือระดับภูมิภาค (Regional Level) • 1) เป็นความร่วมมือของสถาบันบริการสารสนเทศ ที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคเดียวกัน เช่น ภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ภูมิภาคเอเชีย แปซิฟิค • 2) ตัวอย่าง • เครือข่ายสารสนเทศด้านการแพทย์และสาธารณสุข (HELLIS)
9.3.3ความร่วมมือระดับภูมิภาค (Regional Level) • เครือข่ายสารสนเทศด้านการแพทย์ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (South-East Asian Medical Information Center- SEAMIC) • เครือข่ายสารสนเทศภาคพื้นเอเชียและแปซิฟิค(Asia-Pacific Information Network - APIN)
9.3.4 ความร่วมมือระดับนานาชาติ (International Level) 1) เป็นความร่วมมือของสถาบันบริการสารสนเทศที่ขอบเขตความร่วมมือครอบคลุมสถาบันบริการสารสนเทศที่ตั้งอยู่ทั่วโลก 2) มักเป็นความร่วมมือในการจัดหา จัดเก็บ จัดทำเครื่องมือช่วยค้นและให้บริการสารสนเทศเฉพาะด้าน
9.3.4 ความร่วมมือระดับนานาชาติ (International Level) • 3) ตัวอย่าง • เครือข่ายสารสนเทศทางการเกษตรนานาชาติ (International Information System for the Agricultural Science and Technology – AGRIS)
9.3.4 ความร่วมมือระดับนานาชาติ (International Level) • ระบบสารสนเทศทางสิ่งแวดล้อม (International • เครือข่ายห้องสมุดระดับโลกด้านการบริหารยุติธรรม (World Criminal Justice Library Network – WCJLN) • เครือข่ายระบบสารสนเทศกระบือ (International • Buffalo Information System)
9.4 ปัจจัยแห่งความสำเร็จของความร่วมมือในการ บริการสารสนเทศ • 9.4.1 โครงสร้างการดำเนินงาน • ระบบบริหาร :กำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ และกิจกรรมที่จะดำเนินการ โครงสร้างการบริหาร งบประมาณ และการจัดสภาพแวดล้อมการดำเนินงาน
9.4 ปัจจัยแห่งความสำเร็จของความร่วมมือในการ บริการสารสนเทศ • ระบบสารสนเทศ : ต้องสามารถตอบสนองความต้องการสารสนเทศของกิจกรรมต่างๆ ขององค์การได้ เช่น ระบบต้องแปลงจากภาษาธรรมชาติมาเป็นศัพท์ควบคุมที่ผู้ใช้สามารถป้อนคำถามอะไรก็ได้ และไม่ต้องระบุฐานข้อมูลใดโดยเฉพาะ แต่ระบบต้องฉลาดพอที่จะเลือกฐานข้อมูลให้ หรือถามผู้ใช้ในกรณีที่ระบบไม่สามารถตัดสินใจได้
9.4 ปัจจัยแห่งความสำเร็จของความร่วมมือในการ บริการสารสนเทศ • ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : ปัญหาสำคัญที่เกิดขึ้นในการเชื่อมต่อระบบสารสนเทศขององค์การที่มีความร่วมมือมิได้อยู่ที่การเชื่อมต่อระบบเพื่อให้สามารถเข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการ แต่อยู่ที่ความสามารถที่จะใช้แหล่งสารสนเทศนั้นๆ เมื่อระบบเชื่อมต่อกันได้แล้ว • ปัญหาดังกล่าวเกิดขึ้นเนื่องจากการขาดมาตรฐานการบันทึกและการแสดงผลข้อมูล
9.4 ปัจจัยแห่งความสำเร็จของความร่วมมือในการบริการสารสนเทศ • 9.4.2. หน้าที่ ลักษณะ และทัศนคติของผู้บริการ ผู้ปฏิบัติงาน • และผู้ใช้ • 1) ผู้บริหาร • กำหนดนโยบายความร่วมมือ • จัดหาแหล่งเงินทุนสนับสนุน มีความคิดสร้างสรรค์ เห็นความจำเป็นและประโยชน์ระยะยาวที่เกิดจากความร่วมมือ
9.4 ปัจจัยแห่งความสำเร็จของความร่วมมือในการบริการสารสนเทศ • 2) ผู้ปฏิบัติงาน • มีทัศนคติในทางบวก ยินดีและพอใจที่จะรับการเปลี่ยนแปลง • ยืดหยุ่น สามารถปรับตัวได้ กระตือรือร้นที่จะให้ความมือ • 3) ผู้ใช้ • ต้องได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง ชัดเจนเกี่ยวกับบริการ และข้อจำกัดที่จะได้รับจากการใช้บริการ
9.4 ปัจจัยแห่งความสำเร็จของความร่วมมือในการบริการสารสนเทศ • 9.4.3 การกำหนดข้อตกลง กฎ ระเบียบ และงบประมาณ • ในการดำเนินงาน • ข้อตกลงในการยืมระหว่างห้องสมุด • ข้อตกลงเกี่ยวกันการแบ่งบปันทรัพยากรสารสนเทศ โดยการจัดหาร่วมกัน
9.4 ปัจจัยแห่งความสำเร็จของความร่วมมือในการบริการสารสนเทศ • ข้อตกลงในการควบคุมทางบรรณานุกรม โดยการกำหนดมาตรฐานการลงรายการเดียวกัน • ข้อตกลงในการจัดทำดรรชนีสารสารร่วมกัน • ข้อตกลงด้านงบประมาณที่จะใช้ร่วมกัน