250 likes | 460 Views
รายวิชา 204215 การจัดการบริการสารสนเทศ หน่วยที่ 9 ความร่วมมือในงานบริการสารสนเทศ. โดย อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข. 9 . ความร่วมมือในงานบริการสารสนเทศ. 9 .1 ความหมายและความสำคัญของความร่วมมือใน งานบริการสารสนเทศ 9 .2 ประเภทของความร่วมมือในงานบริการสารสนเทศ
E N D
รายวิชา 204215การจัดการบริการสารสนเทศ หน่วยที่ 9 ความร่วมมือในงานบริการสารสนเทศ โดย อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
9. ความร่วมมือในงานบริการสารสนเทศ 9.1 ความหมายและความสำคัญของความร่วมมือในงานบริการสารสนเทศ 9.2 ประเภทของความร่วมมือในงานบริการสารสนเทศ 9.3 ระดับของความร่วมมือในงานบริการสารสนเทศ
9.1 ความหมายและความสำคัญของความร่วมมือในงานบริการสารสนเทศ 9.1.1ความหมายของความร่วมมือในงานบริการสารสนเทศ 9.1.2 ความสำคัญของความร่วมมือในงานบริการสารสนเทศ
9.1.1 ความหมายของความร่วมมือในงานบริการสารสนเทศ ความร่วมมือในงานบริการสารสนเทศ หมายถึง การที่สถาบันบริการสารสนเทศตั้งแต่ 2 แห่งขึ้นไป ซึ่งอยู่ต่างสังกัดและมีงบประมาณของตนเองเป็นเอกเทศ ร่วมมือกันอย่างเป็นทางการหรือไม่เป็นทางการในการดำเนินงานด้านใดด้านหนึ่งหรือหลายด้าน เพื่อประโยชน์ต่อการบริการสารสนเทศและการดำเนินงานร่วมกันของสถาบันบริการสารสนเทศ
9.1.2 ความสำคัญของความร่วมมือในงานบริการสารสนเทศ • ช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงสารสนเทศได้กว้างขวางขึ้น • ช่วยให้สถาบันบริการสารสนเทศจัดบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพภายใต้ข้อจำกัดด้านงบประมาณ • ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของสถาบันบริการสารสนเทศ โดยหลีกเลี่ยงการทำงานซ้ำซ้อน
. 9.2 ประเภทของความร่วมมือในงานบริการสารสนเทศ 9.2.1 ความร่วมมือด้านการควบคุมทางบรรณานุกรม (Cooperation on Bibliographic Control) 9.2.2 ความร่วมมือด้านยืมระหว่างห้องสมุด (Interlibrary Loan - ILL) 9.2.3 ความร่วมมือด้านบริการช่วยการค้นคว้า (Reference Collaboration)
9.2.1 ความร่วมมือด้านการควบคุมทางบรรณานุกรม • บรรณานุกรม (Bibliography) หมายถึงบัญชีรายชื่อทรัพยากรสารสนเทศรูปแบบต่าง ๆ ทั้งที่เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ที่ได้รับการรวบรวม ไว้ด้วยกันอย่างเป็นระบบ โดยมีหลักเกณฑ์สากล ในการลงรายการทรัพยากรสารสนเทศแต่ละประเภท
9.2.1 ความร่วมมือด้านการควบคุมทางบรรณานุกรม • การควบคุมทางบรรณานุกรม (Bibliographic Control) หมายถึง การดำเนินการเกี่ยวกับการรวบรวมรายการทรัพยากร-สารสนเทศที่มีอยู่ในแหล่งต่าง ๆ ให้เป็นระบบและครบถ้วนตามหลักเกณฑ์ที่เป็นมาตรฐานสากล
9.2.1 ความร่วมมือด้านการควบคุมทางบรรณานุกรม (ต่อ) • ผลผลิตของความร่วมมือด้านการควบคุมทางบรรณานุกรม ได้แก่ สหบรรณานุกรมหรือสหรายการ (Union Catalog) • ตัวอย่างของสหรายการได้แก่ ฐานข้อมูลสหรายการ (Union Catalog) ของโครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (Thai Library Integrated System-Thai LIS)ฐานข้อมูลWorldCat ของOCLC
9.2.1 ความร่วมมือด้านการควบคุมทางบรรณานุกรม (ต่อ) • ประโยชน์ของสหรายการในงานบริการสารสนเทศ คือ เป็นแหล่งข้อมูลสำหรับตรวจสอบรายการที่ห้องสมุดมีเพื่อประกอบการตัดสินใจในการยืมระหว่างห้องสมุด
9.2.2ความร่วมมือด้านยืมระหว่างห้องสมุด (Interlibrary Loan - ILL) • เป็นการยืมหรือทำสำเนา • ผ่านตัวกลาง (บรรณารักษ์, นักสารสนเทศ) • มีข้อตกลงอย่างเป็นทางการ
9.2.3ความร่วมมือด้านบริการช่วยการค้นคว้า9.2.3ความร่วมมือด้านบริการช่วยการค้นคว้า • ความร่วมมือด้านบริการช่วยการค้นคว้าแบบดั้งเดิม (Traditional ReferenceCollaboration) • ความร่วมมือด้านบริการช่วยการค้นคว้าแบบดิจิทัล (Digital ReferenceCollaboration) เช่น Question Point ของ OCLC
QuestionPoint • เป็นระบบจัดการงานบริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้าผ่านเว็บ ที่เอื้อให้ผู้ใช้บริการสามารถขอรับบริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้าจาก OCLC ในลักษณะบริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้าเสมือน (Virtual Reference)
9.2.3ความร่วมมือด้านบริการช่วยการค้นคว้า(ต่อ)9.2.3ความร่วมมือด้านบริการช่วยการค้นคว้า(ต่อ) • พัฒนาโดย OCLC และหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน • ผู้ใช้ต้องสมัครเป็นสมาชิกและมีค่าใช้จ่าย • ระบบจะรับคำถามและส่งไปยังบรรณารักษ์บริการช่วยการ • ค้นคว้าในท้องถิ่นที่เป็นสมาชิกเพื่อให้บรรณารักษ์เลือกคำถาม • และหาคำตอบ
9.3 ระดับของความร่วมมือในงานบริการสารสนเทศ . 9.3.1 ความร่วมมือระดับสถาบัน (In-campus Level) 9.3.2 ความร่วมมือระดับท้องถิ่น (Local Level) 9.3.3 ความร่วมมือระดับภูมิภาค (Regional Level) 9.3.4 ความร่วมมือระดับชาติ (National Level) 9.3.5 ความร่วมมือระดับนานาชาติ (International Level)
9.3.1 ความร่วมมือระดับสถาบัน (In-campus Level) • เป็นความร่วมมือระหว่างสถาบันบริการสารสนเทศที่สังกัดอยู่ภายใต้องค์กรเดียวกัน • มักเป็นสถาบันบริการสารสนเทศที่ใช้ระบบกระจายศูนย์ (Decentralization) • ตัวอย่าง เช่น เครือข่ายห้องสมุดมหาวิทยาลัยนเรศวร
9.3.2 ความร่วมมือระดับท้องถิ่น (Local Level) • เป็นความร่วมมือระหว่างสถาบันบริการสารสนเทศที่ตั้งอยู่ในท้องถิ่นเดียวกัน • ตัวอย่าง • - เครือข่ายสารสนเทศนครราชสีมา (NARINET) • - เครือข่ายห้องสมุดจังหวัดอุบลราชธานี • - เครือข่ายสารสนเทศนครศรีธรรมราช (LIGORNET)
9.3.2 ความร่วมมือระดับท้องถิ่น (Local Level) - เครือข่ายห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา จังหวัดชลบุรี - Illinois Library and Information Network (ILLINET) - Nort East Florida library Information Network (NEFLIN) - The Ohio Library and Information Network (OhioLINK)
9.3.3 ความร่วมมือระดับชาติ (National Level) • เป็นความร่วมมือของสถาบันบริการสารสนเทศประเภทเดียวกันหรือสาขาวิชาเดียวกันที่ตกลงดำเนินงานร่วมกันอย่างกว้างขวางทั่วประเทศ • ตัวอย่าง – ข่ายงานห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค (PULINET) • เครือข่ายห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาเอกชน
9.3.3 ความร่วมมือระดับชาติ (National Level) • เครือข่ายห้องสมุดแพทย์แห่งชาติ (The National Network of Libraries of Medicine- NN/LM) • เครือข่ายห้องสมุดวิจัยเพื่อการศึกษาวิชาทหาร (Military Education Research Library Network)
9.3.4ความร่วมมือระดับภูมิภาค (Regional Level) • เป็นความร่วมมือของสถาบันบริการสารสนเทศที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคเดียวกัน เช่น ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภูมิภาคเอเชีย แปซิฟิค • ตัวอย่าง • - โครงการเครือข่ายข้อมูลภูมิภาคตะวันตก
9.3.4ความร่วมมือระดับภูมิภาค (Regional Level) • เครือข่ายสารสนเทศด้านการแพทย์ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (South-East Asian Medical Information Center- SEAMIC) • เครือข่ายสารสนเทศภาคพื้นเอเชียและแปซิฟิค (Asia-Pacific Information Network)
9.3.5 ความร่วมมือระดับนานาชาติ (International Level) • เป็นความร่วมมือของสถาบันบริการสารสนเทศที่ขอบเขตความร่วมมือครอบคลุมสถาบันบริการสารสนเทศที่ตั้งอยู่ทั่วโลก • มักเป็นความร่วมมือในการจัดหา จัดเก็บ จัดทำเครื่องมือช่วยค้นและให้บริการสารสนเทศเฉพาะด้าน
9.3.5 ความร่วมมือระดับนานาชาติ (International Level) • ตัวอย่าง • - เครือข่ายสารสนเทศทางการเกษตรนานาชาติ (International Information System for the Agricultural Science and Technology – AGRIS)
9.3.5 ความร่วมมือระดับนานาชาติ (International Level) - ระบบสารสนเทศทางสิ่งแวดล้อม (International Referal System for Sources of Environmental Information – INFOTERRA) - เครือข่ายระบบสารสนเทศประชากร (Population Information Network – POPIN) - เครือข่ายระบบสารสนเทศกระบือ (International Buffalo Information System)