80 likes | 567 Views
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ. คำชี้แจง. 1.นักเรียนศึกษาคำถามเพื่อศึกษาค้นคว้าตามประเด็นต่อไปนี้ 1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบบริเวณใดของโลก 1.3 . สิ่งใดที่บ่งบอกความเจริญของอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ 1.4 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีอิทธิพลต่อสังคมไทยเราอย่างไร
E N D
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
คำชี้แจง • 1.นักเรียนศึกษาคำถามเพื่อศึกษาค้นคว้าตามประเด็นต่อไปนี้ • 1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบบริเวณใดของโลก • 1.3. สิ่งใดที่บ่งบอกความเจริญของอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ • 1.4 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีอิทธิพลต่อสังคมไทยเราอย่างไร • 2. ให้นักเรียนศึกษา อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ 1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ 2 หรือเว็บไซต์อื่นๆ แล้วตอบคำถามตามประเด็นโดยให้ทำใส่ power point หรือ ทำเป็นคลิปVDO ส่งตรง add reply ส่งภายใน 25 ธันวาคม 2556
1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบบริเวณใดของโลก • อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ เป็นอารยธรรมในยุคสำริด (ประมาณ 2500 - 1900 ก่อนคริสตกาล) ถือกำเนิดขึ้นบริเวณลุ่มแม่น้ำสินธุในประเทศอินเดียและปากีสถานในปัจจุบัน ถือเป็นอารยธรรมยุคแรกๆของโลก ซึ่งนักโบราณคดีเรียกว่ายุคฮารัปปัน วัฒนธรรมเก่าสุดเริ่มจาก • เมืองอัมรี (Amri) บริเวณปากแม่น้ำสินธุ อายุ 4,000 B.C. พบเครื่องปั้นดินเผาระบายสี คล้ายของเมโสโปเตเมีย • เมืองฮารับปา และโมเหนโจ –ดาโร อายุ 2,600 – 1,900 B.C. • เมืองชุคาร์ และจันหุดาโร อายุ 1,000 – 500 B.C.
1.2. อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีความเจริญจากอดีตถึงปัจจุบันจริงหรือ • จริง เพราะ อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีความเจริญจากอดีตจนถึงปัจจุบัน เช่น มีการวางผังเมืองอย่างเป็นระบบระเบียบ มีระบบท่อระบายน้ำ มีสระขนาดใหญ่ภายใต้ตึก 3 ชั้น ยุ้งฉางสำหรับเก็บผลผลิตทางการเกษตร เป็นต้น
1.3. สิ่งใดที่บ่งบอกความเจริญของอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ • เป็นศูนย์กลางวัฒนธรรมแห่งนี้ พบว่ามีความเจริญอย่างยิ่งในด้านการวางผังเมือง เพราะมีการวางผังเมืองอย่างเป็นระบบระเบียบ มีระบบท่อระบายน้ำ มีสระขนาดใหญ่ภายใต้ตึก 3 ชั้น ยุ้งฉางสำหรับเก็บผลผลิตทางการเกษตร และมีหลักฐานการติดต่อค้าขายกับดินแดนเมโสโปเตเมีย
1.4 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีอิทธิพลต่อสังคมไทยเราอย่างไร • เป็นศูนย์กลางวัฒนธรรมแห่งนี้ พบว่ามีความเจริญอย่างยิ่งในด้านการวางผังเมือง เพราะมีการวางผังเมืองอย่างเป็นระบบระเบียบ มีระบบท่อระบายน้ำ มีสระขนาดใหญ่ภายใต้ตึก 3 ชั้น ยุ้งฉางสำหรับเก็บผลผลิตทางการเกษตร และมีหลักฐานการติดต่อค้าขายกับดินแดนเมโสโปเตเมีย
จัดทำโดย นางสาวตะวันฉาย มาศรี เลขที่39 ชั้น ม.5/1